Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4614
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเก็จกนก เอื้อวงศ์th_TH
dc.contributor.authorพงษ์สวัสดิ์ สีหาจันทร์, 2537-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-17T07:07:46Z-
dc.date.available2023-03-17T07:07:46Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4614en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู สหวิทยาเขตบูรพาสระบุรี สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (2) ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรในสถานศึกษา และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร ในสถานศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูในสหวิทยาเขตบูรพาสระบุรี สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จานวน 191 คน สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบ สอบถามเกี่ยวกับทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา และความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรในสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .979 และ .970 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์-สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย ปรากฏว่า (1) ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านทักษะการสื่อสาร ด้านทักษะการมีความเข้าใจ และด้านทักษะการแก้ปัญหาความขัดแย้ง (2) ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรในสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านการเต็มใจ ทุ่มเท เสียสละเวลาให้กับองค์การ ด้านการปรารถนาที่จะดำรงเป็นสมาชิกขององค์การ และด้านการยอมรับเป้าหมายขององค์การ และ (3) ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรในสถานศึกษา มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .643th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectมนุษยสัมพันธ์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--ศึกษาศาสตร์th_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างทักษะด้านมนุษย์สัมพันธ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรในสถานศึกษา สหวิทยาเขตบูรพาสระบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4th_TH
dc.title.alternativeRelationship between human relations skills of school administrators and organizational commitment of personnel in Burapha Saraburi Consortium schools under the Secondary Education Service Area Office 4en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) human relations skills of school administrators as perceived by teachers in Burapha Saraburi Consortium schools under the Secondary Education Service Area Office 4; (2) organizational commitment of personnel in the schools; and (3) the relationship between human relations skills of the school administrators and organizational commitment of personnel in the schools. The research sample consisted of 191 teachers in Burapha Saraburi Consortium schools under the Secondary Education Service Area Office 4, obtained by stratified random sampling based on school size. The employed research instrument was a questionnaire on human relations skills of school administrators and organizational commitment of school personnel, with reliability coefficients of .979 and .970 respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s correlation coefficient. Research findings showed that (1) both the overall and by-aspect human relations skills of the school administrators as perceived by teachers were at the high level; the human relations skills comprised the communication skill, comprehension skill, and conflict problem solving skill; (2) both the overall and by-aspect organizational commitment of the school personnel were at the high level; the organizational commitment aspects were the willingness to sacrifice and devotion of one’s time to the organization, the desire to remain as a member of the organization, and the acceptance of the organizational goals; and (3) human relations skills of the school administrators and organizational commitment of the school personnel correlated positively at the moderate level with the correlation coefficient of .643, which was significant at the .01 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_162944.pdf12.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons