Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4618
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณุมาศ ขัดเงางาม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพิตา เดชาวัฒน์, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-17T07:29:02Z-
dc.date.available2023-03-17T07:29:02Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4618-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง สิทธิได้รับทราบข้อเท็จจริงและโต้แย้งแสดงพยานหลักฐานในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความหมาย หลักกฎหมายที่สำคัญเกี่ยวกับสิทธิและกระบวนการพิจารณาทางปกครอง (2) ให้ทราบถึงมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิของคู่กรณีตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 (3) วิเคราะห์ปัญหาและหลักการคุ้มครองสิทธิได้รับทราบข้อเท็จจริงและโต้แย้งแสดงพยานหลักฐาน (4) เสนอแนะแนวทางในการกำหนดเป็นมาตรการคุ้มครองสิทธิของคู่กรณีในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงทางคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร ที่รวบรวมข้อมูลจากบทบัญญัติของกฎหมาย คำพิพากษาศาลปกครองของไทยและต่างประเทศ หนังสือ บทความ รวมถึงข้อมูลทางวิชาการบนอินเทอร์เน็ตและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า แม้จะมีการรับรองสิทธิของคู่กรณีที่จะได้รับทราบข้อเท็จจริงและโต้แย้งแสดงพยานหลักฐานในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง แต่ยังพบปัญหาในทางปฏิบัติโดยกฎหมายให้อำนาจฝ่ายปกครองสามารถใช้ดุลยพินิจได้อย่างกว้างขวางเช่นกรณีการออกกฎหมายลำดับรองหรือกรณีอ้างความจำเป็นรีบด่วนซึ่งเป็นข้อยกเว้นไม่จำต้องให้คู่กรณีได้รับทราบข้อเท็จจริงและโต้แย้งแสดงพยานหลักฐาน รวมไปถึงการปฏิเสธสิทธิขอตรวจดูเอกสารที่คู่กรณีจำเป็นต้องรู้เพื่อปกป้องสิทธิของตน จากปัญหาดังที่กล่าว ผู้วิจัยจึงเสนอแนะเพื่อให้มีการปรับปรุงแก้ไขเนื้อหากฎหมายตามมาตรา 30 และมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 โดยกำหนดให้เป็นหน้าที่ของฝ่ายปกครองที่ต้องถือปฏิบัติและจำกัดอำนาจ ดุลยพินิจฝ่ายปกครอง เพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิของคู่กรณีในทางปฏิบัติได้อย่างแท้จริงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสิทธิผู้ต้องหาth_TH
dc.subjectการพิจารณาคดีth_TH
dc.subjectกฎหมายกับข้อเท็จจริงth_TH
dc.subjectพยานหลักฐานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleสิทธิได้รับทราบข้อเท็จจริงและโต้แย้งแสดงพยานหลักฐานในกระบวนการพิจารณาทางปกครองth_TH
dc.title.alternativeRights to know the facts and argue the evidence of the administrative proceedingsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are (1) to study meaning, a legal principle of rights and administrative proceedings (2) to find out the legal measures on the rights of the parties under The Administrative Procedure Act B.E.2539 (3) the problems and principle of rights to know the facts and argue the evidence (4) suggestions to measures protect the rights of the parties in the administrative proceedings. This study is a qualitative research conducted based on documentary research by provisions of law, The Judgement of Administrative Court in both Thailand and abroad, text book, articles, academic sources from the internet and other papers. The results have been revealed as follows: Although there are recognition which the rights of the parties to know the facts and argue the evidence in the administrative proceedings. But found the practical problems by law to the administration authority is used discretion extensively such as the subordinate legislation or urgently needed that are exceptions do not must be the parties to know the facts and argue the evidence. Including the rights denial to inspection of documents that the parties need to know for protection self-rights. Such problems, the study author has a suggestion to improving the law in section 30 and section 31 under The Administrative Procedure Act B.E.2539 by designated as duties for the administration must practice and limited power of discretion to protect the rights of the parties in a truly practicalen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons