Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4619
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | โสภนา สุดสมบูรณ์ | th_TH |
dc.contributor.author | วันวิสา ยุระชัย, 2531- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-17T07:35:46Z | - |
dc.date.available | 2023-03-17T07:35:46Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4619 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์กรของครูในโรงเรียนชลประทานวิทยา จังหวัดนนทบุรี (2) เปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์กรของครูในโรงเรียนชลประทานวิทยา จำแนกตามเพศ อายุ ภูมิลำเนาและประสบการณ์ทำงานและ (3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาความผูกพันต่อองค์กรของครูในโรงเรียนชลประทานวิทยา กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูโรงเรียนชลประทานวิทยา จำนวน172 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ จากนั้นจึงสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย ผู้ให้ข้อมูล คือ ครูที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานแตกต่างกันจำนวน 4 คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบประมาณค่าเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์กรมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 และแบบสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า (1) ระดับความผูกพันต่อองค์กรของครูในโรงเรียนชลประทานวิทยา ภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านความผูกพันในด้านจิตใจ ด้านความผูกพันด้านองค์กร และด้านความผูกพัน ด้านความคงอยู่ (2) ผลการเปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์กรของครูในโรงเรียนชลประทานวิทยา จำแนกตามเพศ อายุ ภูมิลำเนา และประสบ การณ์ทำงานพบว่า 1) ครูที่มีเพศและภูมิลำเนาแตกต่างกันมีความผูกพันต่อองค์กรไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ครูที่มีอายุแตกต่างกันมีความผูกพันต่อองค์กรด้านจิตใจแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูที่มีอายุมากกว่า 40 ปีมีความผูกพันต่อองค์กรสูงกว่าครูที่มีอายุระหว่าง 20 – 40 ปี และ 3) ครูที่มีประสบการณ์ทำงานแตกต่างกันมีความผูกพันต่อองค์กรในภาพรวม ด้านจิตใจ และด้านความคงอยู่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูที่มีประสบการณ์ทำงานมากกว่า 15 ปี มีความผูกพันต่อองค์กรสูงกว่าครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานตั้งแต่ 10 ปีลงไป และ (3) แนวทางการพัฒนาความผูกพันต่อองค์กรของครู ประกอบด้วย ควรมีการร่วมกันสร้างเชื่อเสียงให้กับโรงเรียน ควรเปิดโอกาสให้ครูมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและการแก้ไขปัญหา ควรมีการให้ข้อมูลและติดตามการปฏิบัติตามนโยบายโรงเรียนอย่างเคร่งครัด และ ควรมีการจัดสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดี | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ครู--ทัศนคติ | th_TH |
dc.subject | ความผูกพันต่อองค์การ--ไทย--นนทบุรี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา | th_TH |
dc.title | ความผูกพันต่อองค์กรของครูโรงเรียนชลประทานวิทยา จังหวัดนนทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Organizational commitment of teachers in Chonprathan Wittaya School, Nonthaburi province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to study the organizational commitment of teachers in Chonprathan Wittaya School, Nonthaburi Province; (2) to compare the level of organizational commitment of teachers in Chonprathan Wittaya School as classified by gender, age, domicile and work experience; and (3) to study the guidelines for the development of organizational commitment of teachers in Chonprathan Wittaya School. The sample consisted of 172 teachers in Chonprthan Wittaya School. The sample size was determined by Taro Yamane's formula, obtained by simple random sampling. The informants were four teachers with different duration of work, obtained by purposive sampling. The research instruments were a rating scale questionnaire dealing with data on organizational commitment of teachers, with reliability coefficient of .97, and a semi-structured interview form. The research data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA and content analysis. The research findings were as follows:(1) the overall organizational commitment of teachers in Chonprathan Wittaya School was at the high level; with the aspects receiving the top rating mean being that of the psychological engagement aspect, followed by those of the organizational engagement aspect, and the persistence engagement aspect; (2) the comparison results of the organizational commitment of teachers as classified by gender, age, domicile and work experience, it was found that 1) teachers with different gender and domicile had no significantly differed in the organizational commitment at the .05 level; 2) teachers with different age had significantly differed in the organizational commitment at the .05 level, which the teachers who were more than 40 years old had higher organizational commitment than teachers aged 20-40 years; 3) teachers with different work experience had significantly differed in the organizational commitment at the level of .05, which the teachers who were more than 15 years of work experience had higher organizational commitment than teachers with less than 10 years of work experience; and (3) the guidelines for the development of organizational commitment of teachers were as follows: there should have the collaboration of teachers to build a reputation for the school, school should allow teachers to participate in managing and solving problems, there should be strictly provided of information and followed up on school policy compliance, and a good working environment should be organized. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_164611.pdf | 13.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License