Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4634
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สุรเชษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุทิศา ยอดกัลยารัตน์, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-17T08:48:33Z-
dc.date.available2023-03-17T08:48:33Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4634-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวทางในการขึ้นทะเบียนผู้เชี่ยวชาญในคดีปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม (2) เปรียบเทียบการขึ้นทะเบียนผู้เชี่ยวชาญในประเทศไทยกับการขึ้นทะเบียนผู้เชี่ยวชาญในต่างประเทศ (3) กำหนดหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนผู้เชี่ยวชาญในการขึ้นทะเบียนผู้เชี่ยวชาญคดีปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม วิธีการวิจัยเป็นการศึกษาวิจัยทางเอกสาร โดยการค้นคว้าเอกสาร ตำราวิชาการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการขึ้นทะเบียนผู้เชี่ยวชาญในคดีปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของประเทศฝรั่งเศส ประเทศเยอรมัน และประเทศออสเตรเลีย และนําไปวิเคราะห์เพื่อทําหนดหลักเกณฑ์ในการขึ้นทะเบียนผู้เชี่ยวชาญในคดีปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ผลการวิจัยพบว่า ศาลยุติธรรมมีการจัดทำทะเบียนผู้เชี่ยวชาญแต่ยังไม่มีทะเบียน ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ผู้เชี่ยวชาญที่ศาลแต่งตั้งมีสิทธิได้รับค่าตอบแทน โดยคำนึงถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องเสียไปการทํางาน สภาพแห่งคดี ความยากง่าย ระยะเวลาของการทำรายงานและฐานะของผู้เชี่ยวชาญ สำหรับประเทศเยอรมันขึ้นทะเบียนผู้เชี่ยวชาญโดยหน่วยงานระดับมลรัฐและระดับสหพันธ์ เช่นเดียวกับประเทศฝรั่งเศสจัดทำทะเบียนผู้เชี่ยวชาญของศาลปกครองชั้นอุทธรณ์และศาลปกครองชั้นต้น ส่วนประเทศออสเตรเลียมีทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ ดังนั้น เพื่อให้การแสวงหาข้อเท็จจริงในคดีปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ความครบถ้วน ถูกต้องและรวดเร็ว จึงควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ให้ประธานศาลปกครองโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองมีอำนาจออกข้อบังคับเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนผู้เชี่ยวชาญในคดีปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และให้ศาลมีดุลพินิจในการกำหนดค่าตอบแทนผู้เชี่ยวชาญตามลักษณะความยากง่ายของรายงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectศาลยุติธรรมth_TH
dc.subjectผู้เชี่ยวชาญ--แง่สิ่งแวดล้อม--ทะเบียนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleการขึ้นทะเบียนผู้เชี่ยวชาญในคดีปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.title.alternativeThe registration of experts in case ruled on the environmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study on guidelines for registration requirements in Environmental Administrative Experts (2) to compare registration requirements in Environmental Administrative Experts between Thailand and foreign countries (3) to specify the criteria for registration requirements in Environmental Administrative Experts. This paper explored the documentary research method, law textbooks related with registration requirements in Environmental Administrative Experts of France, Germany, and Australia, and to analysis for specifying the criteria for registration requirements in Environmental Administrative Experts. The result showed that the Courts of Justice has prepared a registration for experts but there is no registered of Environmental Administrative experts. The court - appointed experts has the right to receive compensation by taking into consideration for working, circumstances of the case, difficulty, duration of doing report, and status of experts. On the contrary, Germany registered experts by state-level and federallevel. As well as France, the Court of Appeals and the Administrative Court of First Instance have prepared a registration for specialist and Australia has also registered experts. Thus, in order to seek facts in administrative cases concerning the environment is completely correct and fast should edit more Act on Establishment of Administrative Courts and Administrative Court Procedure, B.E. 2542 (1999) and submit to President of the Supreme Administrative Court with the approval of the Administrative Board of the Courts authorized to issue regulations on the registration of Environmental Administrative Specialist. And the court should discretion in determining compensation experts based on the difficulty of the reporten_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons