Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4635
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินาฏ ลีดส์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุขี ผ่องอำไพ, 2507- ผู้แต่ง.-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-17T08:56:56Z-
dc.date.available2023-03-17T08:56:56Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4635-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง สหภาพแรงงานฝ่ายบริหารในรัฐวิสาหกิจมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและวิวัฒนาการของ สหภาพแรงงานฝ่ายบริหารในรัฐวิสาหกิจ เพื่อศึกษา สิทธิ เสรีภาพ ในการรวมตัวกันเป็น สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ ตามกฎหมายระหว่างประเทศ และกฎหมายแรงงานของประเทศ มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ ถึงหลักการที่เกี่ยวการจัดตั้งสหภาพแรงงาน และการเป็นสมาชิก เพื่อวิเคราะห์ สิทธิในการจัดตั้งและการเป็นสมาชิกของลูกจ้างฝ่ายบริหารในรัฐวิสาหกิจ ตามพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 เปรียบเทียบกฎหมายระหว่างประเทศ และกฎหมายแรงงานของประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ เพื่อหาแนวทาง ในการแก้ไขปรับปรุง พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 ให้ลูกจ้างทั้งหมดในรัฐวิสาหกิจ มีความเท่าเทียมกัน เสมอภาคในการจัดตั้งและเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานในรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ต่อไป การค้นคว้าอิสระเรื่องนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสาร จากตำรา บทความ งานวิจัยทางวิชาการ วิทยานิพนธ์ เอกสารที่เกี่ยวข้อง ตัวบทกฎหมาย ทั้งกฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายต่างประเทศ กฎหมายไทย ที่เกี่ยวข้องกับสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ รวมทั้งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อนำมาวิเคราะห์ให้ได้ ข้อสรุปและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไข พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2543 อันเกี่ยวเนื่องกับการจัดตั้งสหภาพแรงงานและการเป็นสมาชิกของสหภาพแรงงานฝ่ายบริหารในรัฐวิสาหกิจต่อไป จากการศึกษาพบว่า พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 นั้น มีบทบัญญัติบางประการอันส่งผลต่อการจำกัดสิทธิเสรีภาพของลูกจ้างฝ่ายบริหารในรัฐวิสาหกิจ ทำให้ ไม่สามารถใช้สิทธิในการรวมตัวและดำเนินกิจกรรมในรูปของสหภาพได้ อันแสดงให้เห็นถึงความ ไม่เสมอภาค และความไม่เท่าเทียมกันในทางกฎหมาย ผู้ศึกษาจึงได้เสนอแนวทางในการแก้ปัญหาทางกฎหมาย คือสร้างความชัดเจนในการให้คำนิยาม “ลูกจ้างฝ่ายบริหาร” และให้สิทธิในการรวมตัว ในการจัดตั้งสหภาพแรงงานได้ และควรกำหนดให้รัฐวิสาหกิจแต่ละแห่งสามารถมีสหภาพแรงงานได้มากกว่า 1 สหภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหภาพแรงงาน--ไทย--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ.th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleสหภาพแรงงานฝ่ายบริหารในรัฐวิสาหกิจth_TH
dc.title.alternativeAdministrative section of labor union in state enterprisesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis Independent Study; Workers' Unions in State Enterprises Purpose. To study the concept. Theory and Evolution Labor unions in state enterprises. To study the right to freedom of assembly. State enterprise union International law and the labor laws of the country. Malaysia, Singapore, Indonesia and the Philippines. The principle of association with the union. And membership for analysis. The right to establish and to be a member of the management staff in state enterprises. According to the State Enterprise Labor Relations Act 2000, comparing international law. And Labor Laws of Malaysia, Singapore, Indonesia And the Philippines.To modify State Enterprise Labor Relations Act, BE 2543 (A.D. 2000), all employees in state enterprises Equality. Equality in the establishment and membership of trade unions in state enterprises. This independent research. Qualitative Research By researching papers from texts, articles, research papers, dissertations, relevant documents, laws, and international law. Thai Laws Related to State Enterprise Unions Including electronic information. Both Thai and English. To be analyzed. Conclusions and suggestions for improvement State Enterprise Labor Law, 2000 This is related to the establishment of a trade union and the membership of the management union in the state enterprise. According to studies, it has been found that The State Enterprise Labor Relations Act, BE 2543 (A.D. 2000), contains certain provisions that affect the limitation of the freedom of employees in the state enterprise. It cannot be used to consolidate and carry out activities in the form of union. This shows inequality and legal inequality. These rights are granted by foreign countries. The researcher has proposed the following solutions to legal problems.: Clarify the definition of "Employee Management" and has the right to set up the union. Each state enterprise should be allowed to have more than one unionen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons