Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4636
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธ์ พลรบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุวิมล บุญลือ, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-17T09:03:30Z-
dc.date.available2023-03-17T09:03:30Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4636-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และหลักกฎหมายปกครอง คดีพิพาทเกี่ยวกับการเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ให้ประโยชน์ และศึกษาถึงสภาพปัญหาในกรณีที่หน่วยงานของรัฐมีการเรียกเงินสวัสดิการหรือเงินประโยชน์เกื้อกูลของทางราชการ คืนจากผู้ที่รับไปโดยไม่มีสิทธิ โดยเห็นว่าเป็นคำสั่งทางปกครองและเป็นคดีพิพาทที่อยู่ในเขตอำนาจศาลปกครอง การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีวิจัยเอกสาร จากตัวบทกฎหมาย หนังสือ ตำรา บทความ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย คำพิพากษาศาลปกครองเกี่ยวกับการเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ให้ประโยชน์ กรณีการเรียกเงินสวัสดิการและเงินประโยชน์เกื้อกูล ของทางราชการคืน การกำหนดสวัสดิการและประโยชน์เกื้อกูลที่มอบแก่บุคลากรของประเทศไทย มีเฉพาะกฎหมาย กฎ และระเบียบในเรื่องการมอบเงินดังกล่าวไว้ แต่เมื่อผู้ขอเบิกได้เบิกเงิน ไปโดยไม่มีสิทธิ ไม่ปรากฏว่ามีกฎหมาย กฎ หรือระเบียบใด ๆ ให้อำนาจทางราชการเรียกเงินนั้นคืน จากการศึกษาพบว่า ทางราชการสามารถเรียกเงินคืนกรณีนี้ได้ 3 แนวทาง คือเรียกคืนในฐานะลาภมิควรได้ เรียกคืนในฐานะเจ้าของทรัพย์สินที่ติดตามเอาทรัพย์คืน และเรียกในฐานะการเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่เป็นการให้ประโยชน์ อย่างไรก็ตาม เมื่อการมอบเงินสวัสดิการหรือประโยชน์เกื้อกูลถือเป็นคำสั่งทางปกครอง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับผู้ขอรับประโยชน์จึงไม่ใช่ในฐานะส่วนตัวอย่างเอกชนกับเอกชน การเรียกเงินฯ คืนในฐานะการเพิกถอนคำสั่งทางปกครองฯ จึงน่า จะมีความเหมาะสมและตรงกับเจตนารมของกฎหมายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิธีพิจารณาคดีปกครองth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleการเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ให้ประโยชน์ : กรณีการเรียกเงินสวัสดิการและเงินประโยชน์เกื้อกูลของทางราชการคืนจากผู้ที่รับไปโดยไม่มีสิทธิth_TH
dc.title.alternativeRevocation of administrative orders that provide benefits: case studies of government’s returned welfare and benefit funds from non-eligible personsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to study concepts, theories and principles of administrative laws, dispute cases regarding revocation of beneficial administrative orders, and problems of government agencies taking back welfare and benefits from non-eligible people because they thought of these administrative orders as disputes in administrative court. This independent study is a qualitative research with a documentary research method from laws, books, texts, articles, thesis, research reports, administrative court judgments regarding revocation of administrative orders that provide benefits in the case when welfare and benefits. In Thailand, entitlement to welfare and benefits in the form of monetary payment for officials is provided by the law. However, when a non-eligible person requests the money, no laws, regulations or rules state that the government can take that money back. In this study, it was found that the government could take back the money in three ways. First, the government can take back the money because the person does not deserve it. Second, the government can act as an owner of the money asking for the money back. Third, the government can take the money back as a revocation of an administrative order that provides benefits. However, giving welfare and benefits is regarded as an administrative order. Therefore, the relation between the government and the benefit receiver is not personal, i.e. private and private, thus, asking for the money back as a revocation of an administrative order should be appropriate and in compliance with the lawsen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons