Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4640
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพ่อค้าth_TH
dc.contributor.authorหนูไกร โปร่งมณี, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-17T09:18:05Z-
dc.date.available2023-03-17T09:18:05Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4640en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง การบังคับคดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้ค้างชำระภาษี ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2551 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2555 มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการบังคับคดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้ค้างชำระภาษี (2) เพื่อศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องการบังคับคดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้ค้างชำระภาษี (3) เพื่อศึกษาวิธีปฏิบัติสำหรับ การยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (4) เพื่อวิเคราะห์และเสนอแนวทางการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบังคับคดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้ค้างชำระภาษี การค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการศึกษาวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการการบังคับคดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้ค้างชำระภาษี นอกจากนี้ยังได้ศึกษาแนวทางมาตรการบังคับทางปกครองตามประมวลรัษฎากร การบังคับทางแพ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ผลการศึกษาพบว่า (1) มาตรการบังคับคดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้ค้างชำระภาษีตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2551 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2555 ยังไม่ชัดเจนในวิธีการปฏิบัติตลอดจนขั้นตอนการดำเนินการ (2) คำสั่งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ออกโดยอาศัยระเบียบดังกล่าวขาดความน่าเชื่อถือทำให้เกิดปัญหาการสืบหาทรัพย์สินของลูกหนี้ และปัญหาการไม่อาจเข้าถึงข้อมูลทรัพย์สินของลูกหนี้ผู้ค้างชำระภาษี เนื่องจากไม่ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่มีข้อมูลทรัพย์สินของลูกหนี้ (3) กรณีขอให้สำนักงานอัยการว่าต่างคดีให้กับองค์ปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานอัยการสูงสุดมักจะขอให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการตามระเบียบดังกล่าวก่อน (3) องค์ปกครองส่วนท้องถิ่นไม่มีระเบียบว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดีโดยจ้างทนายความ (4) ควรออกระเบียบที่เกี่ยวข้องกับวิธีปฏิบัติว่าด้วยการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้การใช้มาตรการบังคับทางปกครองเกี่ยวกับการยึด การอายัด และการขายทอดตลาดทรัพย์สินเพื่อบังคับการให้เป็นไปตามคำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้ชำระเงิน และจัดตั้งหน่วยงานบังคับทางปกครองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้เป็นหน่วยงานบังคับทางปกครองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการบังคับคดีth_TH
dc.subjectการชำระบัญชีth_TH
dc.titleการบังคับคดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้ค้างชำระภาษีth_TH
dc.title.alternativeLegal execution of local administrative organizations against people who owe taxesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study on legal execution of local administrative organizations against people who owe taxes based on the 2008 Ministry of the Interior rules for the freezing, seizure and sale of assets by local administrative organizations, amended in 2012, has the following objectives: 1) studying concepts and theories about local administrative organizations’ legal actions against people who owe taxes; 2) studying laws related to legal execution by local administrative organizations against tax offenders; 3) studying practical methods for local administrative organizations to freeze, seize or auction off assets of people who owe taxes; 4) to make recommendations for amending related legislature. This independent study is a qualitative research, in which documents related to legal execution of local administrative organizations against people who owe taxes, and documents related to administrative enforcement measures under the revenue code and the civil procedure code. The study results showed the following. (1) the 2008 Ministry of the Interior rules for the freezing, seizure and sale of assets by local administrative organizations, amended in 2012, are not clear, especially, the practical methods and steps of the procedure. (2) orders issued by local administrative organizations following these rules lacked credibility making it difficult for local administrative organizations to track down and locate the assets of people who owe taxes because agencies that had information about the assets did not cooperate in providing the information. (3) In case where local administrative organizations requested to have a public prosecutor take legal action on their behalf, the Office of the Attorney General tended to tell the local administrative organizations to take action using the abovementioned rules first. (4) Local administrative organizations did not have any rules about the legal fees for hiring attorneys. (5) New rules should be written about practical methods for local administrative organizations to freeze, seize or sell at auction the assets of people who owe back taxes so that the administrative orders for taxpayers to pay their taxes can be thoroughly enforced.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons