กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/467
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาณินี กิจพ่อค้า | th_TH |
dc.contributor.author | ดุลย์พินิจ กิติศักดิ์, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-11T03:07:55Z | - |
dc.date.available | 2022-08-11T03:07:55Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/467 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องปัญหาการดำเนินการทางวินัยข้าราชการธุรการสำนักงานอัยการสูงสุด มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวคิด โครงสร้าง บทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้อง ตลอดจนปัญหาในการดำเนินการทางวินัย ข้าราชการสำนักงานอัยการสูงสุด โดยศึกษากรณีข้าราชการธุรการของสำนักงานอัยการสูงสุด เพื่อศึกษาถึง หลักเกณฑ์และกระบวนการดำเนินการทางวินัยของข้าราชการธุรการ ในสำนักงานอัยการสูงสุด ตลอดจนการ อุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยข้าราชการธุรการของสำนักงานอัยการสูงสุด เปรียบเทียบกับข้าราชการอัยการและเจ้าหน้าที่ของรัฐในต่างประเทศ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมาย โดยการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร โดยมุ่ง ศึกษาทฤษฎี แนวคิดกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัยของข้าราชการธุรการในสำนักงาน อัยการสูงสุด ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ พ.ศ. 2553 และเพื่อให้ทราบถึงหลักเกณฑ์ การอุทธรณ์ การรายงานผลการดำเนินการ ซึ่งเป็นหลักประกันในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของข้าราชการ ธุรการในสำนักงานอัยการสูงสุด มีมากน้อยเพียงใด ตลอดจน กฎระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการทางวินัย สภาพปัญหาและแนวทางการแก้ไข โดยวิเคราะห์บทบัญญัติของกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ ่ในปัจจุบัน เปรียบเทียบกับการดำเนินการทางวินัยของข้าราชการอัยการ และเจ้าหน้าที่ของรัฐในต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่าปัญหาการดำเนินการทางวินัยข้าราชการธุรการของสำนักงานอัยการสูงสุด คือ ปัญหาการรวบรวมข้อเท็จจริงในการดำเนินการทางวินัย ปัญหาการมีทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมาย ปัญหา การกำหนดระยะเวลาการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง ปัญหาการลงโทษทางวินัยที่ซ้ำซ้อน ปัญหาการตรวจสอบ การดำเนินการทางวินัย และปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์ การแก้ไขปัญหาดังกล่าว ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะคือ ควรมีการออกระเบียบการดำเนินการสืบสวนสอบสวนร่วมกันระหว่าง ข้าราชการอัยการและ ข้าราชการธุรการของสำนักงานอัยการสูงสุด และควรมีการออกระเบียบคณะกรรมการอัยการ ว่าด้วยการสอบสวนทางวินัยข้าราชการธุรการของสำนักงานอัยการสูงสุด นอกจากนี้เห็นควรยกเลิก ข้อ 13 แห่งระเบียบ คณะกรรมการอัยการว่าด้วยเงินค่าตอบแทนพิเศษของข้าราชการธุรการสำนักงานอัยการสูงสุด พ.ศ. 2554 และแก้ไขมาตรา 102 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ พ.ศ. 2553 ตลอดจนจะต้องมีการออกระเบียบคณะกรรมการอัยการ ว่าด้วยการพิจารณาอุทธรณ์ของข้าราชการธุรการสำนักงานอัยการสูงสุด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.373 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชากฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สำนักงานอัยการสูงสุด--ข้าราชการ--วินัย | th_TH |
dc.title | ปัญหาการดำเนินการทางวินัยข้าราชการธุรการของสำนักงานอัยการสูงสุด | th_TH |
dc.title.alternative | Legal problems relating to disciplinary measures against administrative officials of the office of the Attorney general | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.373 | en_US |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.373 | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This Thesis aims to study the concepts, structures, roles, and functions of relevant people and organization appealing of such an order, inclusive of disciplinary measures against administrative officials of the Office of the Attorney General so as to study the criteria on and processes of disciplinary measures against officials of the Office of the Attorney General, with concentration on the comparison with the public prosecutors and state officials in foreign countries.This research is a qualitative research conducted based on documentary research, focusing on theories, legal concepts, and rules in respect of the disciplinary measures against officials of the Office of the Attorney General under the Rule of Public Prosecutors B.E. 2553 (A.D.2010) and aiming to understand the criteria on appeal, and report on results of operations, securing the right and freedom protection of the administrative officials of Office of the Attorney General, inclusive of rules and regulations with respect to the disciplinary measures, problem condition, and corrective guidelines, by analyzing the provisions of laws applying at present in comparison with the public prosecutors and state officials in foreign countries. Since result of this Study, the disciplinary measures against the administrative officials of Office of the Attorney General were the problem of fact collection of disciplinary measures, the problem of lawyers or legal advisors, the problem of determining the period of time for severe disciplinary inquiry, the problem of redundant disciplinary measures, the problem of disciplinary measures examination, and the problem concerning the appeal trial processes. Research had provided Solutions as recommendation, which were that there should have been issuance of mutual inquiry rules between the public prosecutors and the administrative officials of Office of the Attorney General and there should have been issuance of the Rules of CMISS RE: Disciplinary Inquiry against the Administrative Officials of Office of the Attorney General. In addition, Article 13 of the Rule of CMISS RE: Special Remuneration of the Administrative Officials of Office of the Attorney General B.E. 2554 (A.D. 2011) should have been repealed and Section 102 of Public Prosecutor Service Act B.E. 2553 (A.D. 2010) should have been amended. Moreover, the Rule of CMISS RE: Consideration of the Appeal Lodged by the Administrative Officials of Office of the Attorney General should have been issued. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | กอร์ปกุล วินิจนัยภาค | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Law-Theses |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Thesbib138792.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.09 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License