Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4702
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อภิรักษ์ อนะมาน | th_TH |
dc.contributor.author | สมศรี คงทน, 2504- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-19T04:39:23Z | - |
dc.date.available | 2023-03-19T04:39:23Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4702 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) พัฒนาบทเรียนสำเร็จรูปวิชาภาษาไทย เรื่อง สำนวนสุภาษิต และคำพังเพย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนปัญจทรัพย์ กรุงเทพมหานคร ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และ (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการใช้บทเรียนสำ เร็จรูป กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใน1 ห้องเรียน จำนวน 40 คน ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2556 โรงเรียนปัญจทรัพย์ กรุงเทพมหานคร ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย บทเรียนสำเร็จรูปวิชาภาษาไทย เรื่องสำนวน สุภาษิต และคำพังเพย สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธื์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า (1) บทเรียนสำเร็จรูปวิชาภาษาไทยเรื่องสำนวน สุภาษิต คำพังเพย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 91.58/90.13 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนด้วยบทเรียนสำเร็จรูปสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย--แบบเรียนสำเร็จรูป | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย--การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย--คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน | th_TH |
dc.title | การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูปวิชาภาษาไทย เรื่องสำนวน สุภาษิต และคำพังเพย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนปัญจทรัพย์ กรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Development of programed instruction in Thai language on idioms proverbs and aphorisms for Mathayom Suksa III students of Panjasab School in Bangkok Metropolis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to develop a programmed instruction in Thai language on Idioms, Proverbs and Aphorisms for Mathayom Suksa III students of Panjasup School in Bangkok Metropolis based on the 80/80 efficiency criterion; and (2) to compare learning achievements of Mathayom Suksa III students before and after using the programmed instruction. The sample consisted of 40 Mathayom Suksa III students in an intact classroom of Panjasap School in Bangkok Metropolis during the first semester of the 2013 academic year, obtained by cluster sampling. The instruments used in this study included the programmed instruction in Thai language on Idioms, Proverbs and Aphorisms; and a learning achievement test. The data were statistically analyzed using the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The findings of the study were that (1) the programmed instruction in Thai language on Idioms, Proverbs and Aphorisms for Mathayom Suksa III students was efficient at 91.58/90.13 which was higher than the set efficiency criterion of 80/80; and (2) the students’ learning achievement after using the programmed instruction was significantly higher than that before learning at the .01 level. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_135846.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License