Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/470
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorถาวร ทรัพย์ทวีสิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพิชชุดา วิรัชพินทุ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุดารัตน์ สัตย์ซื่อ, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T03:21:02Z-
dc.date.available2022-08-11T03:21:02Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/470-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความสามารถในการทำงานของ พยาบาลวิชาชีพหน่วยงานหัวใจและหลอดเลือด และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และ 2) แนวทางการพัฒนา ความสามารถในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพหน่วยงานหัวใจและหลอดเลือด กลุ่มตัวอย่าง มี 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง จำนวน 153 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น และ (2) บุคลากรประจำหน่วยหัวใจและหลอดเลือดจำนวน 10 คน ได้แก่ พยาบาลระดับบริหาร 5 คน พยาบาลระดับปฏิบัติการ 4 คน และอาจารย์แพทย์ 1 คน คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือการวิจัยมี 2 ชุด ได้แก่ (1) แบบสอบถามระดับความสามารถในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพหน่วยงานหัวใจ และหลอดเลือด และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และ (2) ประเด็นสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างที่ใช้ศึกษาแนว ทางการพัฒนาความสามารถในการทำงาน เครื่องมือชุดแรกผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา จากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงเท่ากบ 0.98 และค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.83 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบวา 1) ความสามารถในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพหน่วยงานหัวใจและหลอดเลือด ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.1 อยู่ในระดับดี และ 2) แนวทางการพัฒนาความสามารถในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพมี 2 ประการ ดังนี้ (1) แนวทางการพัฒนาปัจจัยด้านบุคคล ได้แก่ ทัศนคติในการทำงาน ความชำนาญในการทำงาน ภาวะสุขภาพ และ (2) แนวทางการพัฒนาปัจจัยด้านงานได้แก่ ลักษณะงาน การบริหารจัดการองค์กร สภาพแวดล้อมในการทำงาน การสนับสนุน จากผู้บังคับบัญชาและผู้ร่วมงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.95-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectระบบหัวใจและหลอดเลือด--โรค--การพยาบาลth_TH
dc.titleความสามารถในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ หน่วยงานหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลตติยภูมิth_TH
dc.title.alternativeWork ability of professional nurses at the Cardiovascular Units in a Tertiary Care Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2015.95-
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to investigate the work ability of professional nurses at the cardiovascular unit in a tertiary care hospital and (2) to study guidelines for developing professional nurses. The sample was composed of 2 groups. Firstly, 153 professional nurses who worked atthe cardiovascular unit in the tertiary care hospital were selected by the proportional stratified random sampling. Secondly, 10 key informants comprising 5 nursing administrators, 4 professional nurses, and 1 physician were selected by purposive sampling. The research tools were composed of questionnaire and semistructure interview. The first was used for investigating the work ability of professional nurses and was verified by 5 experts, and CVI was 0.98. The Cronbach's alpha reliability coefficient of thequestionnaire was 0.83. The latter was used as guidelines for developing professional nurses. Data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The research findings were as follows. (1) Professional nurses (64.1 %) rated their work abilities at the high level. (2) Guidelines for developing professional nurses that rated by the key informants consisted of: (1) personal factor development such as work attitudes, work expert, and health status, and (2) work factor development such as work characteristics, organization management, work environment, and support from administrators and colleaguesen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 150603.pdfเอกสารฉบับเต็ม26.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons