Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4899
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรชุลีย์ นิลวิเศษ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพัฒนา ส่องแสง, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-24T08:02:00Z-
dc.date.available2023-03-24T08:02:00Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4899-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการปลูกผักในโรงเรือนของเกษตรกร (3) การยอมรับเทคโนโลยีการปลูกผักในโรงเรือนของเกษตรกร และ (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะการปลูกผักในโรงเรือนของเกษตรกร ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 41.02 ปี สถานภาพแต่งงานแล้ว จำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 5.28 คน เป็นชนเผ่าม้ง ระดับการศึกษาใกล้เคียงกันระหว่างต่ำกว่าประถมศึกษาและประถมศึกษาปีที่ 6 ได้รับข่าวสารระดับมากที่สุดจากเจ้าหน้าที่โครงการขยายผลโครงการหลวง ประสบการณ์ในการปลูกผักในโรงเรือนเฉลี่ย 1.50 ปี จำนวนแรงงานในครัวเรือนและแรงงานจ้างทางการเกษตร 2.64 คน และ 2.09 คน ตามลาดับ ขนาดพื้นที่ทำการเกษตรทั้งหมดเฉลี่ย 16.13 ไร่ รายได้รวมทางการเกษตรเฉลี่ยปีละ 148,745.83 บาท รายจ่ายทั้งหมดที่ปลูกผักในโรงเรือนเฉลี่ยปีละ 67,657.82 บาท จำนวนผลผลิตและราคาผักกินใบเฉลี่ยปีละ 1,482.86 กิโลกรัมๆ ละ 24.89 บาท และจำนวนผลผลิตและราคาผักกินผลเฉลี่ยปีละ 5,070.32 กิโลกรัมๆ ละ 48.00 บาท เกษตรกรเกือบครึ่งมีโรงเรือนขนาด 18 x 30 เมตร เฉลี่ย 1.33 โรงเรือน (2) เกษตรกรมีความรู้ในการปลูกผักในโรงเรือนเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง และเกษตรกรส่วนน้อยมีความรู้ในประเด็นวัสดุปลูก ชนิดผักที่ปลูก และระบบการให้น้ำ (3) เกษตรกรยอมรับเทคโนโลยีการปลูกผักในโรงเรือนเชิงความคิดเห็นระดับมากที่สุดใน 3 ขั้นตอน ได้แก่ การเก็บเกี่ยวและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การเตรียมกล้าและการปลูก และการบรรจุและการขนส่ง และเกษตรกรจำนวนมากที่สุดยอมรับนำไปปฏิบัติในทุกประเด็น นอกจากนี้ (4) เกษตรกรมีปัญหาการปลูกผักในโรงเรือนระดับมากใน 2 ขั้นตอน ได้แก่ การเตรียมพื้นที่และโรงเรือน และการดูแลรักษาหลังการปลูก นอกจากนั้นเกษตรกรเห็นด้วยระดับมากในข้อเสนอแนะทุกประเด็น โดยเฉพาะประเด็นเกษตรกรควรรดน้ำผักในเวลาที่เหมาะสมตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ และเจ้าหน้าที่โครงการควรแนะนำเกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตในระยะปลอดภัยให้มีสารเคมีตกค้างน้อยที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.138-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผัก--การผลิต--เทคโนโลยีที่เหมาะสมth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--น่านth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การจัดการการเกษตรth_TH
dc.titleการยอมรับเทคโนโลยีการปลูกผักในโรงเรือนของเกษตรกรในจังหวัดน่านth_TH
dc.title.alternativeTechnology adoption of vegetable growing in greenhouses by farmers in Nan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.138-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) socio-economic factors of farmers, (2) basic knowledge on vegetable growing in greenhouse of farmers, (3) technology adoption of vegetable growing in greenhouse by farmers, and (4) problems and recommendations for vegetable growing in greenhouse of farmers. The population in this study was a total of 120 vegetable growers in greenhouse under the Royal Project Expansion in Nan Province. Data were collected from all of them without simple random sampling by using interview form as the research instrument, and analyzed by computerized program. Statistics were used including frequency distribution, percentage, mean, minimum value, maximum value, standard deviation and ranking. The research results were as follows: (1) most of the farmers were Hmong Tribe, married; male whose average age was 41.02 years. The average number of household member was 5.28 persons. The educational level was almost the same amount between below primary and secondary level. They received information from the personnel of the Royal Project Expansion. The average experience in vegetable growing in greenhouse was 1.50 years. The number of household labor and hired agricultural labor were 2.64 persons and 2.09 persons respectively. The average total size of farming area was 16.13 rai (1 rai = 1,600 square meters); the average of annual total farm income was 148,745.83 baht; the average of annual total cost for vegetable growing in greenhouse was 67,657.82 baht; the average number of product and price of leafy vegetables were 1,482.86 kg per year and 24.89 baht per kilogram while the average number of product and price of fruit vegetables were 5,070.32 kg per year and 48.00 baht per kilogram. Almost half of them owned the greenhouse size 18x30 meters with an average of 1.33 greenhouses. (2) In the general, the farmers had knowledge of vegetable growing in greenhouse was at moderate level, not many of them could gain knowledge in growing materials, kinds of vegetables, and watering system. (3) In term of opinion, technology adoption of vegetable growing in greenhouse by farmers was rated at the highest level in three following steps, such as harvest and post-harvest management, seedling preparation and planting, and packaging and transportation. Most of farmers had adopted the practice in every aspects. Furthermore (4) problems were rated at high level in two steps, such as land and greenhouse preparation as well as caring after growing. Apart from this, the farmers had agreed in every recommendation at high level, especially the farmers should water the vegetables at suitable time based on personnel’s advice, and the farmer should be advised on the harvest time for chemical safety perioden_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148241.pdfเอกสาณฉบับเต็ม17.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons