Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4923
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุรัตนา มะปะเข, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-25T02:27:47Z-
dc.date.available2023-03-25T02:27:47Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4923en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน และ (3) เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลของความก้าวหน้าทางพัฒนาการการเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านงอยเลิงทอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จังหวัดอุดรธานี จานวน 1 ห้องเรียน 16 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ประกอบด้วย ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าดัชนีความสอดคล้อง ในการตรวจสอบความตรงของชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ค่า E1/E2 และค่าดัชนีประสิทธิผลในการตรวจสอบประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนผลสัมฤทธิ์ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย ปรากฏว่า (1) ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 82.78/84.23 (2) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของผู้เรียนหลังเรียนด้วยชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานสูงกว่าก่อนเรียน (3) ดัชนีประสิทธิผลของความก้าวหน้าทางพัฒนาการการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนเท่ากับ 0.79 แสดงว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางพัฒนาการการเรียนรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 79th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) -- ไทย -- อุดรธานีth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดฝึกอบรมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านงอยเลิงทอง จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a basic science process skills training package on basic science skills of Prathom Suksa III students at Ban Ngoi Loeng Thong School in Udon Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop a basic science process skills training package for Prathom Suksa III students based on the 80/80 efficiency criterion; (2) to compare learning achievements on basic science process skills of Prathom suksa III students before and after learning with the use of the basic science process skills training package; and (3) to find the effectiveness index of progress on learning development of Prathom Suksa III students based on the comparison of pre-learning and post-learning achievement scores. The research sample consisted of 16 Prathom Suksa III students studying in the second semester of the 2012 academic year at Ban Ngoi Loeng Thong School in Udon Thani province. Research instruments consisted of a basic science process skills training package and a science process skills test. Statistics employed for data analysis were the index of item-objective congruence for validity verification of the training package, the E1/E2 index and effectiveness index for efficiency verification of the training package, and the mean and standard deviation for comparison of the difference between the pre-learning and post-learning achievement scores. The research findings showed that (1) the developed basic science process skills training package was efficient at 82.78/84.23; (2) the students’ post-learning basic science process skills achievement scores were higher than their pre-learning achievement scores; and (3) the effectiveness index of progress on learning development of the students after learning was higher than that before learning by .79, indicating that the learners had achieved the progress of learning development by 79 per cent.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_134738.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons