Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4924
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนรัชฎ์ ศิริสวัสดิ์th_TH
dc.contributor.authorสุมิตา สอนสุด, 2534-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-25T02:33:25Z-
dc.date.available2023-03-25T02:33:25Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4924en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณลักษณะงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาไทย และ (2) สังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาไทย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ วิทยานิพนธ์ และการศึกษาค้นคว้าอิสระที่เป็นงานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาไทย ระดับบัณฑิตศึกษา ที่ตีพิมพ์ในช่วงปีพุทธศักราช 2551 – 2560 จานวน 132 เล่ม ได้มาโดยการสืบค้นจาก 2 วิธี คือ การสืบค้นจากห้องสมุดของมหาวิทยาลัย และการสืบค้นผ่านระบบเครือข่ายห้องสมุดอุดมศึกษาในประเทศไทย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า คือ (1) แบบประเมินคุณภาพงานวิจัย และ (2) แบบสรุปคุณลักษณะของงานวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยมีดังนี้ (1) คุณลักษณะของงานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาไทย จานวนมากที่สุดจัดทาในปี พ.ศ. 2553 (ร้อยละ 29.54) เป็นงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ร้อยละ 15.90 เป็นงานวิจัยเชิงทดลองที่เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ร้อยละ 59.84 ระดับชั้นปีที่พบมากที่สุด คือ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 4 มีจานวนเท่ากัน คือ ร้อยละ 11.36 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลมากที่สุด คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ร้อยละ 80.30 (2) จากการสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอน พบว่า รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านพุทธิพิสัย ส่วนใหญ่ใช้การจัดการเรียนรู้แบบ CIPPA รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านทักษะพิสัย ส่วนใหญ่ใช้การจัดการเรียนรู้แบบ SYNECTICS และรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการบูรณาการ ส่วนใหญ่ใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค CIRCth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาษาไทย--การเขียน--วิจัยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleการสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาไทยth_TH
dc.title.alternativeSynthesis of research on Thai language writing skill developmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study characteristics of research studies on Thai language writing skill development; and (2) to synthesize research findings on Thai language writing skill development. The research population comprised 132 theses and independent studies at the graduate level published during the 2008 – 2017 years. They were retrieved by two methods, namely, by searching from university libraries and by retrieval via the network system of higher education institution libraries in Thailand. The employed instruments for the study were (1) a research quality evaluation form, and (2) a research characteristics conclusion form. The data were analyzed with the use of percentage and content analysis. Research findings were as follows: (1) regarding the characteristics of research studies on Thai language writing skill development, the largest number of research studies (29.54 percent) were published in the year 2010; the largest number of research studies (15.90 percent) were obtained from Maha Sarakham University; the majority of research studies (59.84 percent) were experimental research that collected data from primary level students, with the most often found class levels being Prathom Suksa III and Prathom Suksa IV levels (11.36 percent for each level); and the most often used data collecting instrument was the learning achievement test (80.30 percent); and (2) from the synthesis of research findings on the instructional models, it was found that the majority of instructional models focusing on cognitive domain development used the CIPPA learning management; the majority of instructional models focusing on skill domain development used the SYNECTICS learning management; and the majority of instructional models focusing on integration used the CIRC technique of cooperative learning.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_161600.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons