Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/493
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทัศนา หาญพลth_TH
dc.contributor.authorพรทิพย์ ยิ้มวิไล, 2499-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T06:57:24Z-
dc.date.available2022-08-11T06:57:24Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/493-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการใช้บริการ ความพึงพอใจ เปรียบเทียบความพึงพอใจและศึกษาปัญหาอุปสรรคในการใช้บริการในห้องบริการและบริการ ISBN, ISSN และ CIP ทางโทรศัพท์ของสำนักหอสมุดแห่งชาติ การสุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ใช้บริการสำนักหอสมุดแห่งชาติมีอายุตั้งแต่ 12 ปีขึ้นไป แบ่งเป็นผู้ใช้บริการในห้องบริการ 12 ห้อง จำนวน 2,106 คน และผู้ใช้บริการ ISBN, ISSN และ CIP ทางโทรศัพท์ จำนวน 196 คน เครื่องมือการวิจัยคือ แบบสอบกาม และแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้การแจกแจงความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ ANOVA การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่าผู้ใช้บริการในห้องบริการส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 18-25 ปี เป็นนักศึกษาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี มีวัตถุประสงค์ในการใช้บริการเพื่อศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากหนังสือหรือทรัทยากรสารสนเทศที่จัดไว้ให้บริการ ความถี่ในการใช้บริการและช่วงเวลาที่ใช้บริการไม่แน่นอน ระยะเวลาที่ใช้บริการแต่ละครั้ง 1-2 ชั่วโมง วิธีการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการคือการสำรวจจากชั้นหนังสือ ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจบริการในห้องบริการโดยภาพรวมและรายห้องบริการในระดับมาก ยกเว้นห้องสังคมศาสตร์ ภาษาศาสตร์ความพึงพอใจด้านการจัดสถานที่และสภาพแวดล้อม และด้านผู้ใช้บริการอยู่ในระดับมาก ส่วนความพึงพอใจด้านทรัพยากรสารสนเทศ และด้านอื่น ๆ อยู่ในระดับปานกลาง ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัยพบว่า ผู้ใช้บริการที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพด่างกัน มีความพึงพอใจบริการในห้องบริการแตกด่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ปัญหาและอุปสรรคในการใช้บริการ พบว่า หนังสือ ตำรา และทรัพยากรสารสนเทศเก่า ชำรุด ทำให้ขาดข้อมูลที่ต้องการ เจ้าหน้าที่ที่ให้บริการและที่นั่งอ่านหนังสือมีจำนวนไม่เพียงพอให้บริการ บรรยากาศไม่มีความทันสมัยและผู้รับบริการคุยเสียงดังหรือใช้โทรศัพท์ภายในห้องผู้ใช้บริการทางโทรศัพท์ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงอายุระหว่าง 26-35 ปี สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีเป็นพนักงานบริษัท โดยใช้บริการ CIP และ ISBN เดือนละ 1 ครั้งหรือมากกว่า การใช้บริการ ISSN ส่วนใหญ่ใช้บริการนาน ๆ ครั้ง ผู้ใช้บริการมีดวามพึงพอใจบริการทางโทรศัพท์โดยภาพรวมและแต่ละบริการอยู่ในระดับปานกลาง ผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่า ผู้ใช้บริการที่มีเพศและระดับการศึกษาด่างกัน มีดวามพึงพอใจบริการทางโทรศัพท์แดกต่างกันอย่างมีนัยสำดัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ส่วนผู้ใช้บริการที่มีอายุ และอาชีพต่างกัน มีดวามพึงพอใจบริการทางโทรศัพท์ไม่แตกด่างกัน ปัญหาและอุปสรรคในการใช้บริการ ISBN ได้แก่ ติดต่อไม่สะดวกเนื่องจากสายโทรศัพท์ไม่ว่าง ปัญหาและอุปสรรคในการใช้บริการ ISSN ได้แก่ หมายเลขโทรศัพท์ที่ให้บริการ นัอย ติดต่อยาก และปัญหาและอุปสรรคในการใช้บริการ C1P ได้แก่ ล่าช้า ใช้ระยะเวลารอรับหมายเลข นานเกินไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.45-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectหอสมุดแห่งชาติ--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาการใช้ห้องสมุด--ไทยth_TH
dc.subjectห้องสมุด--ความพอใจของผู้ใช้บริการ--ไทยth_TH
dc.subjectบริการสารสนเทศ--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectห้องสมุดและบริการของห้องสมุด--การศึกษาการใช้th_TH
dc.titleการใช้บริการสำนักหอสมุดแห่งชาติth_TH
dc.title.alternativeThe use of National Libraryth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.45-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the use and users’ satisfaction with the services of the National Library both on-site and on the telephone (ISBN, ISSN and CIP), to compare users’ satisfaction, and to study problems with these services. Samples were the National Library users aged 12 and over, namely 2,106 on-site users and 196 phone-in inquirers. The research tools were questionnaires and interviews by questionnaires. Quantitative analysis of data was carried out using frequency distribution, percentages, means, standard deviation, t-test, and ANOVA. Qualitative analysis was done by content analysis.The results showed that the majority of on-site service users were female students, aged 18-25, and bachelor’s degree graduates. Their objective was to study and extend their knowledge using the books and other resources at the library. The frequency and duration of library use varied. Most users used the library services for 1-2 hours at a time. The method most people used to get access to their desired resources was to look for them on the bookshelves. The users’ overall satisfaction with the services in the library rooms was high. Their satisfaction with each room was also high, with the exception of the sociology room and the linguistics room. Users were highly satisfied with the interior layout and environment of the library and the service providers. They were satisfied with the information resources and other aspects of the services at a medium level. Tests of the research hypotheses showed that there was a statistically significant difference (.05) in the satisfaction with the services of users of different sexes, ages, educational levels and professions. It was found that the problems with information resources were due to the facts that the books and other resources were outdated, damaged or broken so information was missing; there were insufficient service providers, seats or chairs; the atmosphere was old-fashioned. Other problems were that people were talking loudly and using mobile phones in the rooms. The majority of people who used telephone services were female, aged 26-35. bachelor’s degree graduates. Most were employees of private companies. Most of them used the CIP and ISBN services once a month or more but rarely used the ISSN service. The users reported a medium level of satisfaction with overall telephone services and all 3 of the telephone services. Test of the hypotheses showed that there was a statistically significant difference (.05) in the satisfaction with the telephone services of users of different sexes and educational levels but there was no statistically significant difference in the satisfaction with the telephone services of users of different ages and professions. The problem with the ISBN service was that the lines were often busy, making it difficult to connect. The problem with ISSN service was that there were few phone lines so it was difficult to connect. The problem with (he CIP service was that it was slow and look a long limeen_US
dc.contributor.coadvisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์th_TH
dc.contributor.coadvisorวิลัย สดงคุณห์th_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (9).pdfเอกสารฉบับเต็ม11.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons