กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4951
ชื่อเรื่อง: | ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเผชิญสถานการณ์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องภูมิศาสตร์เพชรบูรณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Effects of the situation coping method on learning achievement in the geography of Phetchabun province topic of Mathayom Suksa I students at Suksasongkro Phetchabun School in Phetchabun province |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | ภณิดา มาประเสริฐ อนงค์ เนตรทิพย์, 2504- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ |
คำสำคัญ: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี โรงเรียนมัธยมศึกษา--ไทย--เพชรบูรณ์--การบริหาร การศึกษาขั้นมัธยม--ไทย--เพชรบูรณ์--การบริหาร การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน เพชรบูรณ์--ภูมิศาสตร์ การสอน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน |
วันที่เผยแพร่: | 2547 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
บทคัดย่อ: | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเผชิญสถานการณ์ เรื่อง ภูมิศาสตร์เพชรบูรณ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2547 ได้จากการสุ่มอย่างง่าย 1 ห้องเรียน จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเผชิญสถานการณ์ เรื่อง ภูมิศาสตร์เพชรบูรณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเผชิญสถานการณ์ เรื่อง ภูมิศาสตร์เพชรบูรณ์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4951 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Edu-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
fulltext_83877.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.22 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License