Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4964
Title: ผลการใช้รูปหนังตะลุงเป็นสื่อการเรียนที่มีต่อทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดแหลมดินสอ จังหวัดพัทลุง
Other Titles: The effects of using shadow play figures as instructional on english speaking skill of Prathom Suksa II Students at Wat Laemdinsaw School in Phatthalung Province
Authors: ผุสดี กุฏอินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษา
อรอุมา พรหมจรรย์, 2512-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน -- การศึกษาเฉพาะกรณี
ภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) -- ไทย -- พัทลุง
Issue Date: 2552
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาอังกฤษของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้รูปหนังตะลุงเป็นสื่อการเรียน และ (2) ศึกษาพฤติกรรมการ พูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปหนังตะลุงเป็นสื่อการเรียน กลุ่มตัวอย่างของการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดแหลมดินสอ จังหวัดพัทลุง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 จํานวน 21 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ทักษะการ พูดภาษาอังกฤษ โดยใช้รูปหนังตะลุงเป็นสื่อการเรียน จํานวน 10 แผน แบบทดสอบวัดทักษะการพูดภาษาอังกฤษและแบบ สังเกตพฤติกรรมการพูดภาษาอังกฤษ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การหาร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีทักษะการพูดภาษาอังกฤษหลังเรียน โดยใช้รูปหนังตะลุง เป็นสื่อการเรียน สูง กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 และจากการสังเกตพฤติกรรม การพูดของนักเรียนพบว่านักเรียนมีพฤติกรรมการพูดอยู่ในระดับดี
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4964
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_128696.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons