Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/501
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุชีรา มะหิเมือง | - |
dc.contributor.author | จุฑาทิพย์ สร้วงสุวรรณ | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-11T07:22:44Z | - |
dc.date.available | 2022-08-11T07:22:44Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.citation | วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 14, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2564), หน้า 146-160 | th_TH |
dc.identifier.issn | 1905-4653 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/501 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบแนวปฏิบัติตามมิติที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาของประเทศกลุ่มเป้าหมาย และ 2) เสนอแนวทางการพัฒนาการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาสู่การปฏิบัติที่มีคุณภาพสูงขึ้น ดำเนินการวิจัย ดังนี้ ระยะที่ 1 ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบพหุกรณีศึกษา โดยศึกษาเอกสารเกี่ยวกับระบบประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาของประเทศกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เกาหลีใต้ นิวซีแลนด์ เนเธอร์แลนด์ และมาเลเซีย ได้มาโดยการคัดเลือกแบบเจาะจงจากการเป็นประเทศที่มีระบบการศึกษาและประเมินคุณภาพภายนอกใกล้เคียงกับประเทศไทย และระยะที่ 2 ใช้การสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน โดยเลือกแบบเจาะจงตามคุณสมบัติด้านประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา ผลการวิจัยมี ดังนี้ 1) ผลการเปรียบเทียบแนวปฏิบัติตามมิติที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา พบว่า การปฏิบัติของประเทศกลุ่มเป้าหมายมีทั้งที่สอดคล้องกันและแตกต่าง และมีบางประเด็นที่เหมาะสมและเป็นไปได้ที่จะใช้เป็นแนวทางการพัฒนาคุณภาพของการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาในประเทศไทย 2) แนวทางการพัฒนาคุณภาพการประเมินภายนอก พบว่า (1) ต้องกำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติตั้งแต่ระดับกระทรวง (2) กระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกควรมี 4 ขั้น ได้แก่ ขั้นเตรียมการประเมิน ขั้นประเมินในพื้นที่ ขั้นติดตามหลังการประเมินที่มีการปฏิบัติแบบพื้นฐาน และแบบปรับเหมาะโดยยึดตามผลการประเมินในพื้นที่ และขั้นสะท้อนผลการปฏิบัติงานของ สมศ. (3) ควรสร้างสมรรถนะการประเมินคุณภาพภายนอกและการใช้ผลการประเมิน และ (4) ควรมีการปฏิบัติที่สืบเนื่องจากการนำผลการประเมินไปใช้ตั้งแต่ระดับกระทรวง | th_TH |
dc.language.iso | other | th_TH |
dc.publisher | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.subject | สถาบันการศึกษาและสมาคมการศึกษา -- การประเมิน | th_TH |
dc.subject | โรงเรียน -- การประเมิน | th_TH |
dc.title | การประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา : จากแนวปฏิบัติที่ดีของประเทศกลุ่มเป้าหมายสู่การปฏิบัติที่มีคุณภาพสูงขึ้น | th_TH |
dc.title.alternative | External quality assessment of educational institutions : from the best practices of the target country to higher quality practices | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to 1) benchmark external quality assessment of educational institutions practices of the target countries, and 2) propose guidelines for the development of external quality assessment of educational institutions. The research was conducted in two phases. The first phase of the research was conducted through a qualitative-oriented multi-case study by analyzing related documents of external quality assessment systems of educational institutions in the target countries namely South Korea, New Zealand, the Netherlands, and Malaysia. These countries were specifically selected since they have similar educational systems and external quality assessment systems to Thailand. In the second phase, the focus group discussion of nine experts was used. The experts were specifically selected based on their expertise and experience regarding external quality assessment of educational institutions. The research findings are as follows: 1) from benchmarking, it is found that there are both similarities and differences in external quality assessment of educational institutions practices of the target countries, and there are some appropriate aspects that can be used as guidelines for improving the external quality assessment of educational institutions in Thailand; 2) for proposing guidelines for the development of external quality assessment of educational institutions, it is found that (1) policy making and guidelines should be conducted in the ministry level, (2) external quality assessment processes should comprise 4 stages namely Assessment preparation (pre-site visit), Area assessment (onsite-visit) , Following-up after the standard practice assessment and adjustment basing on the result from area assessment, and Reflection of the ONESQA performance; 3) The external quality assessment and using assessment result ability should be enhanced; and 4) There should be practices following the implementation of the assessment results from the ministry level | en_US |
Appears in Collections: | STOU Education Journal |
This item is licensed under a Creative Commons License