Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5026
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorยุพิน มั่นวงศ์, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-03-26T13:12:35Z-
dc.date.available2023-03-26T13:12:35Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5026-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุบลราชธานี (2) เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุบลราชธานี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัญหาและ ข้อเสนอแนะของประชาชนในการให้บริการแก่ประชาชนของสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุบลราชธานี ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้มารับบริการจากสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด อุบลราชธานี เฉลี่ย 3 ปี ย้อนหลัง จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 122 คน โดยเป็นการศึกษาประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการให้บริการสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุบลราชธานี ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือด้านอาคารสถานที่ และด้านกระบวนการบริการตามลำ ดับ (2) ประชาชนผู้มารับบริการที่มี เพศ อาชีพ การศึกษา รายได้ ต่างกันมีความพึงพอใจที่ไม่แตกต่างกันสำหรับผู้ที่มีอายุต่างกันจะมีความพึงพอใจ ด้านกระบวนการบริการแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ปัญหาสำคัญ ได้แก่ การประชาสัมพันธ์โครงการที่สำคัญๆไม่ทั่วถึง เช่น โครงการช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ยากจน ประชาชนที่อยู่ อำเภอรอบนอกไม่ทราบข้อมูลโครงการและทำให้พลาดโอกาสในการได้รับการช่วยเหลือ และรองลงมาคือ สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุบลราชธานีมีบุคลากรไม่เพียงพอต่อการให้บริการ ข้อเสนอแนะที่สำคัญ ได้แก่ ควรส่งเสริมการประชาสัมพันธ์โครงการที่สำคัญๆให้ทั่วถึง ครอบคลุมทุกพื้นที่ทุกอำเภอในจังหวัดอุบลราชธานี เช่น ประชาสัมพันธ์ผ่านวิทยุชุมชน ผ่านการประชุมกำนันผู้ใหญ่บ้านประจำเดือน สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุบลราชธานีควรจัดให้มีการฝึกอบรมหรือให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ทุกคนเพิ่มมากขึ้นเกี่ยวกับการให้บริการประชาชนโดยเฉพาะในเรื่องที่ประชาชนสนใจมาใช้บริการมากที่สุด เพื่อที่จะสามารถบริการ ประชาชนได้รวดเร็วยิงขึ้นและตอบสนองความต้องการของประชาชนได้เพียงพอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุบลราชธานี--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการสำนักงานเกษตรและสหกรณ์ จังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeSatisfaction of the people on the services of the Office of Provincial Agricultural and Co-operatives of Ubon Rachathani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.grantorสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to (1) study satisfaction of the people on the services of the Office of Provincial Agricultural and Co-operatives of Ubon Rachathani province (2) compare satisfaction of the people on the services of the Office of Provincial Agricultural and Co-operatives of Ubon Rachathani province by personal factors (3) study problems and recommendations of the people on the services of the Office of Provincial Agricultural and Co-operatives of Ubon Rachathani Province. Population consisted of the people who received services from Office of Provincial Agricultural and Co-operatives of Ubon Rachathani province, 3 years backward from which the average amount of 122 was obtained as samples. The research studied whole population. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and One-way Analysis of Variance. The results showed that (1) people’s satisfaction on the services in general, was in high level; with highest mean on service staff, next was on facilities, and service process respectively (2) people with different gender, occupation, education level, and income, had no differences in satisfaction level, while people with differences in age had different satisfaction level with 0.05 level of statistical significance (3) problems were deficiencies in public relations activities on important project such as Farmers and the Poor Support Project, resulting in the missing of opportunities to get help for localities living outside the district, next was problem on deficiency of staff at the Office; major recommendations were: important projects should be communicated throughout the area covering all districts together with the suburb in Ubon Ratchathani province, through varieties of media such as community radio or monthly community meeting, training should be provided to all staff so to increase their service abilities particularly in the area most interested to the peopleen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_130367.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons