Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/503
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorฐปนรรต พรหมอินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุจิตรา หังสพฤกษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมเกียรติ เฮงวัชรไพบูลย์, 2496--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T07:24:38Z-
dc.date.available2022-08-11T07:24:38Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/503-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาผลการดำเนินนโยบายและความมั่นคงด้านพลังงาน(2) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินนโยบายและความมั่นคงด้านพลังงาน 3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินนโยบายและความมั่นคงด้านพลังงาน (4) เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาทางด้านนโยบายและความมั่นคงด้านพลังงาน ผลการวิจัยพบว่า (1) นโยบายพลังงานในด้านก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน ไฟฟ้า การอนุรักษ์พลังงานประสบความสำเร็จในภาพรวมระดับปานกลาง สำหรับระดับความมั่นคงด้านพลังงาน ประเทศไทยประสบความสำเร็จในระดับปานกลางเช่นกัน โดยประเทศไทยยงคงต้องพึ่งพาพลังงานจากภายนอกประเทศและยังมี ประสิทธิภาพในการใช้พลังงานอยู่ในระดับต่ำ (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินนโยบายพลังงาน ได้แก่ นโยบายและแผนพลังงาน ทรัพยากรและปฎิบัติงาน ปัจจัยแวดลัอมระดับโลก ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยเฉพาะกับประเทศเพื่อนบ้าน และความเชื่อมโยงกับภาคเศรษฐกิจอื่น ซึ่งสาเหตุสำคัญที่ทำให้นโยบายด้านพลังงานไม่สามารถประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย เกิดจากตัวนโยบายเองที่ยังขาดความต่อเนื่อง ชัดเจนและเป็นนโยบายสำหรับการแก้ไขปัญหาเฉพาะหนัาเป็นหลัก โดยไม่ได้มีการบูรณาการร่วมกับนโยบายด้านอื่น ๆ รวมทั้งสถานการณ์ด้านพลังงานของโลกที่มีความผันผวน ส่วนสาเหตุสำกัญที่กระทบต่อผลสำเร็จในนโยบายความมั่นคงด้านพลังงาน ได้แก่ การขาดการวางแผนระยะยาวในด้านนโยบายของไทยเพื่อที่จะเป็นแนวทางให้แก่ภาคเอกชนในการปรับตัว การไม่ให้ความสำกัญกับการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีทีจะนำมา สนับสมุนให้มีการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้งการสร้างค่านิยมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการใช้พลังงานที่ไม่เหมาะสมที่ยังไม่สัมฤทธิผล (3) ปัญหาและอุปสรรคสำคัญในการดำเนินนโยบายด้านทลังงาน ได้แก่ ปัญหาด้านการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ปัญหาความไม่แน่นอน ตลอดจนความไม่ต่อเนื่องของนโยบายและมาตรการต่าง ๆ ปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชนหรัอภาคธุรกิจเอกชน ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์ (4) แนวทางการแก้ไขเพื่อให้การดำเนินนโยบายพลังงานประสบผลสำเร็จและก่อให้เกิดความมั่นคงด้านพลังงาน จำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุง ด้านนโยบายให้มีความชัดเจน ต้องมีการพัฒนาบุคลากรและเทคโนโลยีสนับสมุนให้เกิดการวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องต่างๆ ให้สอดคลัองกับแนวทางนโยบายด้านพลังงานที่วางไวั โดยทุกฝ่ายจะต้องร่วมมือกันอย่างจริงจังth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectนโยบายพลังงาน -- ไทยth_TH
dc.titleการศึกษาผลการดำเนินนโยบายและความมั่นคงด้านพลังงานth_TH
dc.title.alternativeThe study of energy policies implementation and energy securityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.nameปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the energy policies implementation and energy security; (2) to analyze factors affecting energy policies implementation and energy security; (3) to study problems and obstacles to energy policies implementation and energy security; and (4) to suggest the solutions to the problems occurred in the implementation of energy policies and energy security. This research was both qualitative and quantitative. The sample consisted of scholars and officers working in the organizations involved with energy. One hundred and eighty people were selected by means of probability method from energy-concerning organizations. The research instruments were questionnaires and document review, and statistical analyses were means and standard deviation. The results showed that (1) the energy policies concerning natural gas, oil, electricity, and energy conservation succeeded at a moderate level as a whole and so did the energy security. Thailand still had to rely on the energy sources from out of the country and the efficiency of energy consumption was at a low level. (2) Success factors in energy policies implementation were content of policies, resources and operators, global factors, international relations, especially neighboring countries, and linkage with other economic sectors. The main reason why they did not meet their targets was due to the discontinuity and obscurity of the policies. Most of the policies were designed for short-term problem solving without having been integrated with other policies concerned and fluctuating global energy situation. The main reasons affecting the success in energy security policies were that there were no long-term plans that could be a roadmap for private energy sectors, lack of priority in research and development in technologies to support efficient energy consumption, and unsuccessfulness of value building and behavior changing in terms of inappropriate energy consumption. (3) The major problems and obstacles to energy policies implementation were research and technology development, uncertainty and discontinuity of policies and other measures, participation of public and private sectors, and public relations. (4) To solve the problems in energy policies implementation and create energy security, the government must articulate policies, develop human resources and technologies, encourage people to do research and develop related industries in accordance with planned policies, with serious collaboration from all parties concerned.en_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
114945.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons