Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/505
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | โกศล มีคุณ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | เจียรนัย ทรงชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | อัมพร แสงวิเชียร, 2500- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-11T07:31:32Z | - |
dc.date.available | 2022-08-11T07:31:32Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/505 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาผลการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวแบบ บูรณาการที่มีต่อพฤติกรรมประชาธิปไตยของนักเรียน (2)เปรียบเทียบผลการฝึกด้วยชุดกิจกรรม แนะแนวแบบบูรณาการที่มีต่อพฤติกรรมประชาธิปไตยของนักเรียนที่มีความพร้อมทางจิตต่างกัน (3)เปรียบเทียบผลการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการที่มีต่อพฤติกรรมประชาธิปไตย ของนักเรียนที่อยูในสถานการณ์โดยรวมต่างกัน และ (4) ศึกษาผลการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการที่มีต่อพฤติกรรมประชาธิปไตยของนักเรียนที่มีลักษณะชีวสังคมต่างกัน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนกุดบากราษฎรบํารุง ปีการศึกษา 2545 จํานวนสองห้องเรียนห้องเรียนละ 25 คน ซึ่งไดมาโดยการเลือกแบบเจาะจง จับสลากให้ห้องหนึ่งเป็นกลุ่มทดลอง และอีกหองหนึ่งเป็นกลุ่มควบคุมกลุ่มทดลองได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการ จํานวน 12 ครั้ง สวนกลุ่มควบคุมได้รับการฝึกด้วยกิจกรรมอื่น จํานวน 12 ครั้งเช่นกัน เครื่องมือวัดตัวแปรมี 7 ชุด เป็นแบบวัดสถานการณ์ 3 ชุด แบบวัดจิตลักษณะ 3 ชุด และแบบวัดพฤติกรรมประชาธิปไตย 1ชุด มีค่า ความเที่ยงหาโดยสัมประสิทธิ์แอลฟา .86 ถึง .90 สถิติที่ใชในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย เบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบคาที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง ผลการวิจัยพบว่า (1)นักเรียนที่ไดรับการฝึกดวยชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการมี พฤติกรรมประชาธิปไตยสูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการ (2)ไม่พบว่านักเรียนที่มีความพร้อมทางจิตต่างกันหรืออยูในสถานการณ์โดยรวมต่างกันมีพฤติกรรมประชาธิปไตยต่างกันเมื่อไดรับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวฯ (3) นักเรียนที่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการที่มีสติปีญญาตํ่ามีคะแนนเฉลี่ย พฤติกรรมประชาธิปไตยสูงขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การแนะแนว--เครื่องมือ | th_TH |
dc.subject | กิจกรรมของนักเรียน | th_TH |
dc.subject | นักเรียนประถมศึกษา--พฤติกรรม | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการที่มีต่อพฤติกรรมประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนกุดบากราษฎร์บำรุง จังหวัดสกลนคร | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of the integrated guidance activities program on democratic behaviors of Prathom Suksa VI pupils in Gudbaakrasbumrung school in Sakonnakhon province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research study had four objectives: (1) to study the effects of the integrated guidance activities program on democratic behaviors of Prathom Suksa V pupils; 2) to compare the effects of the integrated guidance activities program on democratic behaviors of pupils with different levels of psychological readiness; (3) to compare the effects of the integrated guidance activities program on democratic behaviors of pupils who were in different overall situations; and (4) to study the effects of the integrated guidance activities program on democratic behaviors of pupils with different biosocial characteristics. This study was an experimental research. The research sample consisted of Prathom Suksa V pupils purposively selected as two intact classrooms each of which comprised 25 pupils studying in the 2002 academic year at Gudback Rasbumrung School. One classroom was randomly assigned as the experimental group; the other, the control group. The experimental group was trained with the integrated guidance activities program for 12 periods, while the control group was trained with other activities also for 12 periods. Seven forms of research instruments for measuring variables were employed including three situation assessment forms, three psychological characteristics assessment forms, and one democratic behaviors assessment form. Their alpha coefficient reliabilities ranged from .86 to .90. Statistical procedures for data analysis were the mean, standard deviation, t-test, and two-way ANOVA.Research findings revealed that (1) pupils trained with the integrated guidance activities program had higher democratic behavior scores than those of pupils trained without it; (2) for pupils trained with the integrated guidance activities program, no significant difference was found between democratic behavior scores of those with different levels of psychological readiness, and between democratic behavior scores of those who were indifferent overall situations; and (3) pupils with low I.Q. who were trained with the integrated guidance activities program significantly increased their democratic behavior mean score. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License