Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5067
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริวรรณ ศรีพหล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอวยชัย รัตนแพทย์, 2500-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-27T07:59:56Z-
dc.date.available2023-03-27T07:59:56Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5067en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอน เรื่อง ทักษะภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนบ้านหลวง ตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการใช้ชุดการสอน เรื่อง ทักษะภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนบ้านหลวง และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการสอนโดยใช้ชุดการสอน เรื่อง ทักษะภูมิศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนบ้านหลวง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 36 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องทักษาภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน (3) ชุดการสอน เรื่อง ทักษะภูมิศาสตร์ และ (4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการสอนโดยใช้ชุดการสอน เรื่อง ทักษะภูมิศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลจากการศึกษา พบว่า (1) ชุดการสอน เรื่อง ทักษะภูมิศาสตร์ มีประสิทธิภาพ 80.43 / 79.31 (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนชั้นประภมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนบ้านหลวง สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการสอนโดยใช้ชุดการสอนในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา -- ไทย -- พะเยาth_TH
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectภูมิศาสตร์ -- การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดการสอนเรื่องทักษะทางภูมิศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนบ้านหลวง จังหวัดพะเยาth_TH
dc.title.alternativeDevelpopment of an instructional package on Geographical skills for Prathom Suksa VI students at Chumchon Ban Luang School in Phayao provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to develop an instructional package on Geographical Skills for Prathom Suksa VI students at Chumchon Ban Luang School based on the pre-determined efficiency criterion; (2) to compare learning achievements of Prathom Suksa VI students at Chumchon Ban Luang School before and after using the instructional package on the topic of Geographical Skills; and (3) to study the students’ satisfaction with the teaching using the instructional package. The sample consisted of 36 Prathom Suksa VI students studying in the second semester of the 2014 academic year at Chumchon Ban Luang School under the Office of Phayao Primary Education Service Area 2, obtained by purposive selection. The employed research instruments comprised (1) learning management plans on the topic of Geographical Skills in the Social Studies, Religion and Culture Learning Area at Prathom Suksa VI level; (2) an achievement test for pre-testing and post-testing; (3) an instructional package on the topic of Geographical Skills; and (4) a questionnaire on student’s satisfaction with the teaching using the instructional package. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. Findings of the study revealed that (1) the developed instructional package was efficient at 80.43 / 79.31; (2) the post-learning achievement of Prathom Suksa VI students of Chumchon Ban Luang School was significantly higher than their pre-learning achievement at the .05 level; and (3) the students were satisfied with the teaching using the instructional package at the high levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_145728.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons