Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5077
Title: | ผลการจัดกิจกรรมเล่านิทานแบบวาดไปเล่าไปที่มีต่อความสามารถในการพูดเล่าเรื่องของเด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านค้อกำแพงจังหวัดศรีสะเกษ |
Other Titles: | Effects of story telling along with drawing on story telling ability of preschool children at Ban Kho Kamphaeng School in Si Sa Ket province |
Authors: | ประภาพรรณ เอี่ยมสุภาษิต อัญชลี เอี่ยมยิ้ม, 2502- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ |
Keywords: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี เด็กวัยก่อนเข้าเรียน--กิจกรรมการเรียนการสอน การเล่านิทาน เด็กวัยก่อนเข้าเรียน--ไทย--ศรีสะเกษ การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน. |
Issue Date: | 2553 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านการพูดเล่าเรื่องของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเล่านิทานแบบวาดไปเล่าไป กลุ่มตัวอย่างคือเด็กปฐมวัยชาย หญิง อายุระหว่าง 5 - 6 ปีกําลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนบ้านค้อกําแพง จังหวัดศรีสะเกษ จํานวน 22 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดกิจกรรมการเล่านิทานแบบวาดไปเล่าไปและแบบวัดความสามารถการพูดเล่าเรื่อง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า ความสามารถด้านการพูดเล่าเรื่องของเด็กปฐมวัย หลังการจัดกิจกรรมการเล่านิทานแบบวาดไปเล่าไป สูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ พบว่าหลังการทดลองเด็กปฐมวัยมีความสามารถด้านการพูดเล่าเรื่องอยู่ในระดับเกณฑ์ที่ 3 ดีมาก จํานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 40.91 และเกณฑ์ที่ 2 ปี จํานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 45.45 และ เกณฑ์ที่ 1 ปรับปรุง จํานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 13.64 |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5077 |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_124162.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License