Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5087
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดรุณี จำปาทองth_TH
dc.contributor.authorอัมพร จำเริญพานิช, 2503-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-28T03:12:34Z-
dc.date.available2023-03-28T03:12:34Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5087en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง ปัญหาธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลวัดกาแพง (อุดมพิทยากร) จังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนเทศบาลวัดกาแพง (อุดมพิทยากร) จังหวัดชลบุรี จำนวน 32 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน จำนวน 3 แผน เวลา 16 ชั่วโมง และ (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติสาหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องปัญหาธรรมชาติสิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลวัดกาแพง (อุดมพิทยากร) จังหวัดชลบุรีหลังจากที่เรียนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดังกล่าวก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการแก้ปัญหา--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา--ไทย--ชลบุรีth_TH
dc.subjectธรรมชาติศึกษา--กิจกรรมการเรียนและการสอนth_TH
dc.subjectสิ่งแวดล้อม--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--ชลบุรีth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเรื่อง ปัญหาธรรมชาติสิ่งแวดล้อมที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลวัดกำแพง (อุุดมพิทยากร) จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeEffects of problem-based teching approach in the topic of natural environment problems on learning achievement of Prathom Suksa VI students at Tessaban Wat Kamphaeng (Udom Pitthayakon) School in Chon Buri Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare pre-learning and post-learning achievements in the topic of Natural Environment Problems of Prathom Suksa VI students of Tessaban Wat Kamphaeng (Udom Pitthayakom) School in Chon Buri province, who learned the topic under the problem-based teaching approach. The research sample consisted of 32 Prathom Suksa VI students at Tessaban Wat Kamphaeng (Udom Pitthayakom) School in Chon Buri province, obtained by cluster sampling. The research instruments comprised (1) three learning management plans under the problem-based teaching approach requiring 16 hours of learning time; and (2) a learning achievement test. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings revealed that the post-learning achievement in the topic of Natural Environment Problems of Prathom Suksa VI students at Tessaban Wat Kamphaeng (Udom Pitthayakom School) in Chon Buri province, who learned the topic under the problem-based teaching approach, was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .01 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_139958.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons