Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5094
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอาริสา สุปน, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-28T03:55:11Z-
dc.date.available2023-03-28T03:55:11Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5094en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7E วิชาฟิสิกส์ เรื่องแสงและทัศนอุปกรณ์ ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7E กับนักเรียนที่เรียนแบบปกติ และ (3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องแสงและทัศนอุปกรณ์ ของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7E กับนักเรียนที่เรียนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนห้องสอนศึกษา จังหวัดแม่ฮ่องสอน ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2558 จำนวน 2 ห้องเรียน รวมทั้งหมด 75 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม สุ่มเป็นกลุ่มทดลองที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7E และกลุ่มควบคุมที่เรียนแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7E (2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และ (3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7E วิชาฟิสิกส์ เรื่องแสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 80.61/79.39 (2) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้7E สูงกว่าของนักเรียนที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7E สูงกว่าของนักเรียนที่เรียนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectฟิสิกส์ -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectฟิสิกส์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- ไทย -- แม่ฮ่องสอนth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7E ที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์เรื่องแสงและทัศนอุปกรณ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนห้องสอนศึกษา จังหวัดแม่ฮ่องสอนth_TH
dc.title.alternativeThe effects of a 7E inquiry activity package on analytical thinking and physics learning achievement in the topic of light and visual aids of Mathayom Suksa V students at Hong Son Suksa School in Mae Hong Son Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to develop a 7E inquiry activity package in the topic of Light and Visual Aids based on the pre-determined efficiency criterion; (2) to compare analytical thinking ability of students who learned from the 7E inquiry activity package with that of those who learned under the conventional method; and (3) to compare physics learning achievement in the topic of Light and Visual Aids of students who learned from the 7E inquiry activity package with that of those who learned under the conventional method. The research sample consisted of 75 Mathayom Suksa V students in two intact classrooms in the Science-Mathematics Program of Hong Son Suksa School in Mae Hong Son province during the first semester of the 2014 academic year, obtained by cluster sampling. Then one classroom was randomly assigned as the experimental group to learn from the 7E inquiry activity package; the other classroom, the control group to learn under the conventional method. The employed research instruments were (1) a 7E inquiry activity packages, (2) an analytical thinking ability test; and (3) a physics learning achievement test. Statistics for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test. Research findings were as follows: (1) the developed 7E inquiry activity packages in the topic of Light and Visual Aids for Mathayom Suksa V students was efficient at 80.61/79.39; (2) the analytical thinking ability of the students who learned from the 7E inquiry activity package was significantly higher than the counterpart ability of the students who learned under the conventional method at the .05 level; and (3) the physics learning achievement of the students who learned from the 7E inquiry activity package was significantly higher than the counterpart achievement of the students who learned under the conventional method at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_146279.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons