Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/510
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพ่อค้าth_TH
dc.contributor.authorประสงค์ จำนงค์ทรัพย์, 2507-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T07:52:05Z-
dc.date.available2022-08-11T07:52:05Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/510en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ศึกษาโครงสร้างการจัดเก็บภาษียาสูบ (2) วิเคราะห์ ปัญหาเปรียบเทียบกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้มาตรการบังคับในการจัดเก็บภาษี โดยเปรียบเทียบ หลักเกณฑ์ ตามกฎหมายภาษี อื่นๆ ของไทยและกฎหมายภาษียาสูบของต่างประเทศ (3) เสนอแนะ แนวทางกำหนดมาตรการบังคับทางกฎหมายในการจัดเก็บภาษียาสูบสำหรับประเทศไทยต่อไป การวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมายโดยการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยทางเอกสาร โดยการศึกษาค้นคว้ารวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารต่างๆ ผลการศึกษาพบว่า กฎหมายศุลกากร ประมวลรัษฎากร พระราชบัญญัติภาษี สรรพสามิต พ.ศ. 2527 และกฎหมายภาษียาสูบของประเทศออสเตรเลีย มีมาตรการบังคับในการจัดเก็บภาษีทางแพ่ง ได้แก่ การประเมินภาษีเบี้ยปรับเงินเพิ่ม การอุทธรณ์ภาษีการทุเลาภาษีการ บังคับชำระภาษีค้าง และการคืนภาษี เมื่่อมาเปรียบเทียบกับพระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ. 2509 ไม่พบบทบัญญัติเกี่ยวกับการบังคับทางกฎหมายในการจัดเก็บภาษีในทางแพ่งดังกล่าวข้างต้น พบแต่มาตรการบังคับในการจัดเก็บภาษีในทางอาญา แต่ไม่เป็นหลักประกันในการจัดเก็บได้ร้อยเปอร์เซ็นต์สมควรได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับคุณลักษณะของกฎหมายภาษีอากรที่ดี ในระยะสั้น ให้ปรับปรุงพระราชบญญัติยาสูบ พ.ศ. 2509 ให้มีการประเมินภาษีเบี้ยปรับเงินเพิ่ม การอุทธรณ์ภาษีการทุเลาภาษีการบังคับชำระภาษีค้าง และการคืนภาษี ในระยะยาว ให้ยกเลิก พระราชบญญัติยาสูบ พ.ศ. 2509 จัดทำประมวลสรรพสามิตโดยเทียบเคียงกับประมวลรัษฎากร โดยให้สินค้ายาสูบไปจัดเก็บภาษี ในประมวลสรรพสามิตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.235en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectยาสูบ--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.titleมาตรการบังคับทางกฎหมายในการจัดเก็บภาษียาสูบศึกษาเฉพาะกรณีพระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ.2509th_TH
dc.title.alternativeLegal enforcement measures for Tobacco Taxation : case study of Tobacco Act B.E.2509 (1966)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.235en_US
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.235en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this thesis are (1) to study the structures of the tobacco taxation; (2) to analyze and compare the legal issues related to the use of compulsory taxation measures with a comparison of principles in accord with other taxation laws of Thailand and of some foreign countries; and (3) to propose the guidance and measures for further enforcement of tobacco taxation of Thailand. This research is the legal and qualitative research conducted based on documentary research. The data of this study are collected and analyzed from related documents such as legal documents, reports, and articles both from Thailand and some foreign countries. The results show The results showed that the custom laws, the revenue code, the Excise Act B.E. 2527 (1984) of Thailand and the tobacco taxation laws of Australia were legislated with the tax assessment, penalty, tax appeal, tax abatement, imposed payment of tax arrears and tax returns. By a comparison, the Tobacco Act B.E. 2509 (1966) of Thailand was not enforced with the civil taxation provisions but the criminal ones despite of the fact that such criminal provisions did not guarantee the full taxation availability. Hence, the Tobacco Act B.E. 2509 (1966) should have been revised in compliance with the proper tax laws. In the short term, the Tobacco Act B.E. 2509 (1966) should have been improved and amended by including the tax assessment, penalty, tax appeal, abatement of tax, imposing payment of tax arrears and tax returns. In the long term, the Tobacco Act B.E. 2509 (1966) should have been abolished whereas the taxes of tobacco products should have been collected and paid in accord with the excise taxation code.en_US
dc.contributor.coadvisorสุพจน์ ศักดิ์พิบูลย์จิตต์th_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137821.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons