Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5111
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่งth_TH
dc.contributor.authorดลนภา ดีบุปผา, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-28T06:54:02Z-
dc.date.available2023-03-28T06:54:02Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5111en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะ ส่วนบุคคล วัฒนธรรมในองค์กร และความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน กับความผูกพันในองค์กร และ (2) เพื่อศึกษาอำนาจพยากรณ์ความผูกพันในองค์กรของพนักงานจากวัฒนธรรมในองค์กร และความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พนักงานในบริษัท เอบี ฟู้ด จังหวัดสมุทรปราการจานวน 175 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามคุณลักษณะส่วนบุคคล แบบสอบถามเกี่ยวกับวัฒนธรรมในองค์กร แบบสอบถามเกี่ยวกับความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน และแบบสอบถามเกี่ยวกับความผูกพันในองค์กร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน อัตราส่วนความสัมพันธ์ และพหุคูณความถดถอย ผลการศึกษาวิจัยพบว่า (1) ลักษณะส่วนบุคคล เช่น อายุ ระยะเวลาการทางาน สถานภาพสมรส มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในองค์กรอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แต่ลักษณะส่วนบุคคล เช่น เพศ ระดับการศึกษาสูงสุดไม่มี ความสัมพันธ์กับความผูกพันในองค์กร (2) วัฒนธรรมในองค์กร และความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในองค์กรอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (3) วัฒนธรรมในองค์กร และความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน สามารถร่วมกันพยากรณ์ความผูกพันในองค์กรได้ร้อยละ 52.2th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวัฒนธรรมองค์การth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมในองค์กร ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานกับความผูกพันในองค์กร ของพนักงานบริษัทเอบี ฟู้ด จังหวัดสมุทรปราการth_TH
dc.title.alternativeRelationships of organizational culture and colleague relationship with organizational commitment of employees of A-B Food Company in Samut Prakan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the relationships between the personal factors, organizational culture and colleague relationship with organizational commitment of employees and (2) to study predicting role of the organizational commitment of employees from organizational culture and colleague relationship. The sample in this study were175.The research instruments consisted of the personal factors questionnaires, organizational culture questionnaires, colleague relationship questionnaires and organizational commitment questionnaires. The statistic for data analysis were percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product moment correlation coefficient, Eta -correlation ratio and multiple regression. The results of this research were as follows: (1) The personal factors i.e. age, working period, marriage were positively related to organizational commitment at a level of signification of .01 but the personal factors i.e. gender, educational level no related to organizational commitment (2) The organizational culture and colleague relationship were positively related to organizational commitment at a level of signification of .01 (3) The organizational commitment could be predicted role by organizational culture and colleague relationship at a percentage of 52.2.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_132617.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons