Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5118
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนรัชฏ์ ศิริสวัสดิ์th_TH
dc.contributor.authorอุไร พุฒหมื่น, 2501-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-28T07:59:30Z-
dc.date.available2023-03-28T07:59:30Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5118en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องนิทานพื้นบ้านม้ง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านสบเป็ด อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของหนังสืออ่านเพิ่มเติมที่สร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านสบเป็ด จำนวน 10 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ หนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องนิทานพึ้นบ้านม้ง ที่สร้างขึ้น แบบประเมินคุณภาพหนังสือ และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออ่านเพิ่มเติม สถิติที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) หนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องนิทานพื้นบ้านม้ง ที่สร้างขึ้นประกอบด้วยนิทานพื้นบ้านม้ง 15 เรื่อง ได้แก่ หนุ่มกำพร้า เจ้าชายงู ลูกแก้ววิเศษ สองพี่น้องกับปลาวิเศษ พ่อไก่กับแมวป่า ผีตามรัก หนุ่มตง ตุ๊ปรี ใจไปเป็นเสือ กั๋วตู๋เพื่อนรัก ผีพ่อกินลูก สามพี่น้องกับเสือกินคน ฮู๋กู๋ ผีอ้อเพ้อ และความหลังของนกฮูก โดยแต่ละเรื่องมีภาพประกอบและกิจกรรมท้ายเรื่อง และ (2) การตรวจสอบคุณภาพของหนังสือโดยผู้ทรงคุณวุฒิพบว่า ในภาพรวมมีความเหมาะสมโดยมีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.67 - 1.00 และความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออ่านเพิ่มเติมในภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectหนังสืออ่านประกอบ--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--น่านth_TH
dc.subjectนิทาน--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleการสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องนิทานพื้นบ้านม้งสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านสบเป็ด อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่านth_TH
dc.title.alternativeConstruction of a supplementary reading entitled Hmong folk tales for Mathayom Suksa I Students of Ban Soppet School, Tha Wang Pha District, Nan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were (1) to construct a supplementary reading entitled Hmong Folk Tales for Mathayom Suksa I students of Ban Soppet School, Tha Wang Pha District, Nan Province; and (2) to verify quality of the constructed supplementary reading. The sample consisted of three experts and 10 Mathayom Suksa I students of Ban Soppet School, all of which were purposively selected. The employed research instruments for the study were the constructed supplementary reading entitled Hmong Folk Tales, a book quality assessment form, and a questionnaire on student’s opinions toward the supplementary reading. Statistics employed for data analysis were the mean, and standard deviation. Findings of the study were that (1) the constructed supplementary reading entitled Hmong Folk Tales comprised 15 Hmong folk tales, namely, the Orphan Young Man, the Snake Prince, the Magic Glass Ball, Two Brothers and a Magic Fish, the Rooster and the Wild Cat, the Love Pursuing Ghost, Young Man Called Tong, Tu Pree, the Mind Wishing to Be a Tiger, Kua Tu the Beloved Friend, the Father’s Ghost Eating the Son, Three Brothers and a Man-Eating Tiger, Hu Gu, Au Phoe Ghost, and the Owl’s Past Events; each tale was completed with illustrations and end-of-story activities; and (2) results of quality verification of the reading by experts showed that the experts considered the overall quality of the reading to be appropriate, with the IOC’s ranging from 0.67 – 1.00; also, the students had opinions that the overall quality of the supplementary reading was appropriate at the highest level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_141054.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons