Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5123
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเก็จกนก เอื้อวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเจษฎา ข่าทิพพาที, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-28T08:31:57Z-
dc.date.available2023-03-28T08:31:57Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5123en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพการใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชนในการจัดการเรียนการสอนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 11 และ (2) แนวทางการส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชนในการจัดการเรียนการสอนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 11 กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 11 จำนวน 240 คน และผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์ คือ ผู้บริหารโรงเรียนและศึกษานิเทศก์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามซึ่งมีความเที่ยง 0.98 และแนวคำถามในการสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และข้อมูลจากการสัมภาษณ์ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) แหล่งเรียนรู้ชุมชนประเภทวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ และแหล่งเรียนรู้ประเภทสถานที่มีการใช้มากที่สุด และแหล่งเรียนรู้ชุมชนประเภทแหล่งเรียนรู้ตามธรรมชาติมีการใช้น้อยที่สุด สำหรับขั้นตอนการใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชน ในภาพรวมพบว่า มีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก และเมื่อจำแนกเป็นรายขั้นตอนพบว่า ขั้นการปฏิบัติ ขั้นการวางแผน และขั้นการตรวจสอบและประเมิน มีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ส่วนขั้นการปรับปรุงและพัฒนามีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง และ (2) แนวทางการส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชนในการจัดการเรียนการสอนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา ควรดำเนินการดังนี้ (2.1) โรงเรียนควรมีการกำหนดนโยบายอย่างชัดเจนและส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้ใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชนในการจัดการเรียนการสอนโดยต้องบูรณาการเข้าสู่แผนการสอนด้วย (2.2) ควรสนับสนุนงบประมาณหรืออำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงานการใช้แหล่งเรียนรู้ (2.3) ควรให้ครูทุกคนมีส่วนร่วมในการประเมินและมีการรายงานผลการใช้ (2.4) ควรมีการยกย่องชมเชยให้กับครูที่จัดการเรียนการสอนโดยใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชนประเภทต่างๆ ตามเป้าหมายที่ทางโรงเรียนได้กำหนดไว้ และ (2.5) ควรส่งเสริมให้ครูนำผลการประเมินมาใช้เพื่อสนับสนุนให้การจัดการเรียนการสอนมีคุณภาพมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectชุมชนกับโรงเรียน -- ไทยth_TH
dc.subjectการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleการใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชนในการจัดการเรียนการสอนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11th_TH
dc.title.alternativeThe utilization of community learning resources in instructional management of teachers in Surat Thani 2 Secondary School consortium under the Secondary Education Service Area Office 11en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the conditions of utilization of community learning resources in instructional management of teachers in Surat Thani 2 Secondary School Consortium under the Secondary Education Service Area Office 11; and (2) guidelines for promotion of utilization of community learning resources in instructional management of teachers in Surat Thani 2 Secondary School Consortium under the Secondary Education Service Area Office 11. The research sample consisted of 240 teachers in Surat Thani 2 Secondary School Consortium under the Secondary Education Service Area Office 11, and research informants for the interviews were school administrators and educational supervisors. The employed research instruments were a questionnaire with reliability coefficient of 0.98, and an interview structure. Statistics for analysis of quantitative data were the frequency, percentage, mean, and standard deviation; while content analysis was employed for analysis of data obtained from interviews. Research finding showed that (1) the most utilized community learning resources were those of the culture, tradition and belief category and learning places category; while the natural learning resource category of the community was least utilized; as for the steps of utilization of community learning resources, it was found that the overall utilization was practiced at the high level; when specific steps of utilization were considered, it was found that the steps of practice, planning, and monitoring and evaluation were carried out at the high level, while the step of improvement and development was carried out at the moderate level; and (2) guidelines for promotion of utilization of community learning resources in instructional management of secondary school teachers were the following: (2.1) the school should formulate clear policy and encourage and support the teachers to utilize community learning resources in their instructional management and integrate the practice in their lesson plans; (2.2) the school should provide budgetary support and assistance to the teachers in coordinating for utilization of the community learning resources; (2.3) every teacher should be allowed to participate in evaluation and reporting of the utilization results; (2.4) teachers should be praised on their efforts to utilize community learning resources in their instructional management in accordance with the targets determined by the school; and (2.5) the teachers should be encouraged to make use of evaluation results for enhancement of quality of their instructional managementen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_156373.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons