Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5126
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เข็มทอง ศิริแสงเลิศ | th_TH |
dc.contributor.author | ณัฐพล สิทธิแพทย์, 2526- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-28T08:45:05Z | - |
dc.date.available | 2023-03-28T08:45:05Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5126 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความพึงพอใจในการทำงานของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 (2) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับความพึงพอใจในการทำงานของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ครูประถมศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 จำนวน 327 คน ใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามมาตรประมาณค่า และแบบปลายเปิด การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 มีความพึงพอใจในการทำงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาแต่ละด้านพบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านความพยายาม ด้านการปฏิบัติงาน ด้านการรับรู้บทบาท ด้านความสามารถและคุณลักษณะ ด้านการรับรู้ว่าความพยายามนำมาซึ่งรางวัล ด้านรางวัลภายใน ด้านรางวัลภายนอก ด้านการรับรู้ความเสมอภาคในการได้รับรางวัล และด้านคุณค่าของรางวัล และ (2) ปัญหาที่พบ คือ ครูไม่เห็นความสำคัญของรางวัลเนื่องจากรางวัลไม่ดึงดูดความสนใจ ครูได้รางวัลที่ไม่เป็นธรรมและมีความลำเอียง ครูขาดการทุ่มเทการทำงานและไม่ขยันทำงาน ข้อเสนอแนะ คือ ผู้บริหารควรมีการพิจารณาคัดเลือกผู้ที่ได้รับรางวัลตามคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์อย่างเป็นธรรม ผู้บริหารควรเอาใจใส่และให้ความสำคัญต่อการให้รางวัลเพื่อจูงใจ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ครู--ไทย--ชลบุรี--ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา | th_TH |
dc.title | การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการพัฒนาผู้เรียนของโรงเรียนมิตรมวลชนเชียงใหม่ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ | th_TH |
dc.title.alternative | Job satisfaction of teachers in state basic education schools under Chon Buri Primary Education Service Area Office 3 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were as follows: (1) to study the job satisfaction of teachers in state basic education schools under Chon Buri Primary Education Service Area Office 3; and (2) to study the problems and suggestions concerning job satisfaction of teachers in state basic education schools under Chon Buri Primary Education Service Area Office 3. The research sample comprised 327 teachers in state basic education schools under Chon Buri Primary Education Service Area Office 3, obtained by stratified random sampling based on school size. The data collecting instrument was a questionnaire containing the rating scale items and the open-ended items. The data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. Research findings revealed that (1) the overall rating mean for job satisfaction of teachers in state basic education schools under Chon Buri Primary Education Service Area Office 3 was at the high level. When specific aspects of job satisfaction were considered, it was found that the rating mean for every aspect was at the high level. Aspects of job satisfaction could be ranked based on their rating means from top to bottom as follows: the efforts aspect, the job performance aspect, the role perception aspect, the ability and traits aspect, the efforts leading to reward perception aspect, the intrinsic rewards aspect, the extrinsic rewards aspect, the perceived equitable reward aspect, and the value of reward aspect; (2) the problems that were found were the following: the teachers did not see the importance of rewards because the rewards were not attractive; the teachers received unfair rewards and biased rewards; the teachers did not put full efforts in job performance and were not diligent; as for the suggestions, the following were provided: the administrators should be fair in selecting teachers to receive rewards in work performance based on fair criteria; and the administrator should be attentive and give importance to rewarding the teachers to motivate them to perform their jobs effectively. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_156593.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License