Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5190
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำลอง นักฟ้อน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิเชียร สุวรรณศรี, 2500-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-30T04:33:45Z-
dc.date.available2023-03-30T04:33:45Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5190-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาสเขต 2 (2)เปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการของ ผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสัานักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2 ตามทัศนะของกลุ่มตัวอย่าง และตามขนาดของสถานศึกษา และ (3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการของ ผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 76 คน ครูหัวหน้างานวิชาการ จำนวน 76 คน จากสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาสเขต 2 จำนวน 76 แห่ง รวม 152 คน ได้มาโดยการกำหนดจำนวนตามตารางเครจซี่ และมอร์แกน แล้วใช้วิธีสุ่มอย่างง่ายตามขนาดของสถานศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาสเขต 2 ในภาพรวมมีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (2) เปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2 ตามทัศนะของ ผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและครูหัวหน้างานวิชาการ พบว่ามีระดับการปฏิบัติไม่แตกต่างกัน และการเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา โดยภาพรวมไม่แตกต่างกันเช่นเดียวกัน และ (3) ปัญหาที่สำคัญเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้แก่ ผู้บริหารและครูยังไม่เข้าใจถึงความสำคัญของหลักสูตร ขาดการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ขาดการพัฒนาเครื่องมือวัดผลและประเมินผล และขาดความรู้ในเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา ส่วนข้อเสนอแนะที่สำคัญในการแก้ปัญหาการบริหารงานวิชาการ ได้แก่ควรจัดให้มีการพัฒนาให้บุคลากรในเรื่องหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง และเพิ่มประสิทธิภาพการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้สูงขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงเรียน--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.subjectการบริหารการศึกษาth_TH
dc.titleการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2th_TH
dc.title.alternativeAcademic affairs administration of basic education school administrators under the Office of Narathiwat Educational Service Area 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137311.pdf9.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons