Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5191
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วัลภา สบายยิ่ง | th_TH |
dc.contributor.author | บัญญัติ นุชอ่อง, 2503- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-30T04:35:05Z | - |
dc.date.available | 2023-03-30T04:35:05Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5191 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการปรับตัวของผู้ต้องขังเรือนจำกลางบางขวาง (2) เปรียบเทียบระดับการปรับตัวของผู้ต้องขังจำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา คดีที่ต้องโทษ กำหนดโทษ และระยะเวลาที่ต้องโทษ และ (3) ศึกษาอำนาจในการทำนายของตัวแปรใน ด้านการรู้จักและเข้าใจตนเอง, ด้านสัมพันธภาพกับเพื่อนผู้ต้องขัง, ด้านส้มพันธภาพกับครอบครัว, ด้านสัมพันธภาพกับเจ้าหน้าที่ และด้านการมีเป่าหมายของชีวิตสำหรับการทำนายการปรับตัวของผู้ต้องขัง การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ต้องขังในเรือนจำกลางบางขวาง ซึ่งกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยวิธีของยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 350 คน ด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มี 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคล ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามที่เกี่ยวกับปัจจัยที่มีผล ต่อการปรับตัวของผู้ต้องขัง และ ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความสามารถในการปรับตัว เพื่อใช้ชีวิตอยู่ในเรือนจำ แบบสอบถามทั้งฉบับมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน การเปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคู่ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาปรากฏว่า (1) การปรับตัวของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางบางขวาง โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) ผู้ต้องขังที่มีปัจจัยส่วนบุคคลในด้านอายุ ระดับการศึกษา คดีที่ ต้องโทษ กำหนดโทษ และระยะเวลาที่ต้องโทษต่างกันมีการปรับตัวเพื่อใช้ชีวิตอยู่ในเรือนจำ แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ตัวแปรทำนายทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการรู้จักและ เข้าใจตนเอง ด้านสัมพันธภาพกับเพื่อนผู้ต้องขัง ด้านสัมพันธภาพกับครอบครัว ด้านสัมพันธภาพ กับเจ้าหน้าที่ และด้านการมีเป้าหมายของชีวิต มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวเพื่อใช้ชีวิตอยู่ใน เรือนจำของผู้ต้องขัง และสามารถร่วมกันพยากรณ์การปรับตัวของผู้ต้องขังได้ร้อยละ 67 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | นักโทษ--การดำเนินชีวิต | th_TH |
dc.title | ปัจจัยทำนายการปรับตัวของผู้ต้องขังเรือนจำกลางบางขวาง | th_TH |
dc.title.alternative | Factors that predict the adaptation of Prisoners in Bang Kwang Central Prison | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to study the life adaptation of prisoners in Bang Kwang Central Prison; (2) to compare the life adaptation levels of prisoners as classified by age, educational level, convicted case, term of imprisonment, and imprisonment serving time; and (3) to study the predictive power of the following variables: self-knowing and understanding, relationship with fellow inmates, relationship with family members, relationship with prison officers, and having the goals of life for predicting life adaptation of prisoners. This study was a correlational research. The research sample consisted of 350 prisoners in Bang Kwang Central Prison, obtained by stratified random sampling. The sample size was determined based on Yamane’s method. The instrument used in this study was a questionnaire composed of three parts: Part 1 was questionnaire on personal background factors; Part 2 was questionnaire on factors affecting life adaptation of the prisoner; and Part 3 was questionnaire on the prisoner’s life adaptation ability. The whole questionnaire had .86 reliability coefficient. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, analysis of variance, method of pairwise comparison, and multiple regression analysis. The results showed that (1) the total life adaptation of prisoners in Bang Kwang Central Prison was rated at the high level; (2) prisoners with different personal factors in terms of age, education level, convicted case, term of imprisonment, and imprisonment serving time differed significantly in their levels of life adaptation in prison at the .05 level of statistical significance; and (3) the five predicting variables, namely, self-knowing and understanding, relationships with fellow inmates, relationship with family members, relationship with prison officers, and having the goals of life correlated with life adaptation in prison of the prisoners and could be combined to predict life adaptation in prison of the prisoners by 67 percent. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_151043.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.29 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License