Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5193
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์th_TH
dc.contributor.authorวิไลวรรณ แก้วถาวร, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-30T06:28:38Z-
dc.date.available2023-03-30T06:28:38Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5193en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการบริหารสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของวิทยาลัยเทคนิคกระบี่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และ (2) เปรียบเทียบการบริหารสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของวิทยาลัยเทคนิคกระบี่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยจำแนกตามระดับชั้น และประเภทวิชากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา ระดับประกาศนียบัตร (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ของวิทยาลัยเทคนิคกระบี่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำนวน 334 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือการ วิจัยคือแบบสอบถามซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) การบริหารสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของวิทยาลัยเทคนิคกระบี่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยภาพรวมอยู่ระดับมาก เรียงตามลำดับดังนี้ สภาพแวดล้อมด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้านสังคมและกลุ่มเพื่อน ด้านการจัดกิจกรรมการศึกษา ด้านการบริการนักศึกษา และด้านอาคารสถานที่ (2) เปรียบเทียบการ บริหารสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของวิทยาลัยเทคนิคจังหวัดกระบี่ จำแนกตามระดับชั้น และจำแนกตามประเภทวิชาพบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ.05 และเมื่อทำการเปรียบเทียบรายคู่ พบว่าประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรมแตกต่างกับประเภทวิชาบริหารธุรกิจ และประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ส่วนประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรมและประเภทวิชาคหกรรมไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสภาพแวดล้อมห้องเรียนth_TH
dc.subjectสภาพแวดล้อมการทำงาน--ไทยth_TH
dc.subjectการจัดการชั้นเรียนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleการบริหารสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของวิทยาลัยเทคนิคกระบี่th_TH
dc.title.alternativeEnvironmental management to promote learning of Krabi Technical Collegeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study environmental management to promote learning of Krabi Technical College under the Office of the Vocational Education Commission; and (2) to compare the levels of environmental management to promote learning of Krabi Technical College under the Office of the Vocational Education Commission, as classified by program level and program type.The research sample consisted of 334 students at vocational diploma and vocational certificate levels of Krabi Technical College under the Office of the Vocational Education Commission, obtained by stratified random sampling. The research instrument was a questionnaire, with reliability coefficient of .98. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, one-way ANOVA, and Scheffe’s method of pair-wise comparison. The research results revealed that (1) the overall environmental management to promote learning of Krabi Technical College under the Office of the Vocational Education Commission was rated at the high level, and the specific aspects of environmental management could be ranked based on their rating means as follows: the environmental management aspect of teachers and educational personnel, the environmental management aspect of social and peer groups, the environmental management aspect of educational activities, the environmental management aspect of student services, and the environmental management aspect of buildings and facilities; and (2) regarding the comparison of environmental management levels to promote learning of Krabi Technical College as classified by program level and program type, it was found that the levels of environmental management to promote learning of Krabi Technical College of different program levels and program types differed significantly at the .05 level; and when pair-wise comparisons were conducted, it was found that the environmental management level of the Industrial Technician Program was significantly different from that of the Business Administration Program and that of the Tourism Industry Technician Program; while no significant difference was found between that of the Industrial Technician Program and that of the Home Economics Program.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161961.pdf13.88 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons