Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5206
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิมth_TH
dc.contributor.authorนิพนธ์ บุญประเสริฐ, 2534-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์.th_TH
dc.date.accessioned2023-03-30T08:16:56Z-
dc.date.available2023-03-30T08:16:56Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5206en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบการคิดเชิงประยุกต์ของนักเรียนกลุ่ม ทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และ 2) เปรียบเทียบการคิดเชิงประยุกต์ของนักเรียน กลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการคิดเชิงประยุกต์และกลุ่มควบคุมที่ใช้กิจกรรมแนะแนวแบบปกติ กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนแม่ปะวิทยาคม จังหวัดตาก จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 24 คน ที่ได้มาโดยการลุ่มแบบกลุ่ม จากนั้นจึงสุ่มอย่างง่ายเพื่อแบ่งเป็น กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ชุดกิจกรรมแนะแนว เพื่อพัฒนาการคิดเชิงประยุกต์ 2) ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบปกติ และ 3) แบบทดสอบการคิดเชิง ประยุกต์ ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .90 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเบี่ยงเบนควอไทล์ ค่ามัธยฐาน การทดสอบวิลคอกซ้นและการทดสอบแมนวิทนีย์ ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการคิดเชิงประยุกต์ มีความคิดเชิงประยุกต์สูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 และ 2) ภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการคิดเชิงประยุกต์ นักเรียนกลุ่ม ทดลองมีความคิดเชิงประยุกต์สูงกว่าของนักเรียนกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาในการศึกษาขั้นประถมth_TH
dc.subjectการรู้คิดในเด็กth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการคิดเชิงประยุกต์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนแม่ปะวิทยาคม จังหวัดตากth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package to develop applicative thinking of Mathayom Suksa V students at Maepa Wittayakom school in Tak Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare levels of applicative thinking of theexperimental group students before and after using a guidance activities package, and (2) to compare applicative thinking level of the experimental group students who used the guidance activities package with the counterpart thinking level of the control group students who participated in normal guidance activities. The research sample consisted of 24 Mathayom SuksaV students at Maepa Wittayakom School in Tak Province, obtained by cluster sampling. Then they were randomly assigned into an experimental group and a control group, with 12 students in each group. Research instruments were (1) a guidance activities package to develop applicative thinking; (2) a set of normal guidance activities; and (3) a test of applicative thinking, with reliability coefficient of .90. Statistics for data analysis were the median, inter-quartile range, Wilcoxon Matched Pairs Singed-Ranks Test, and Mann-Whitney U Test. The findings revealed that (1) the post-experiment applicative thinking level of the experimental group students who used the guidance activities package to develop applicative thinking was significantly higher than their pre-experiment counterpart level at the .01 level of statistical significance; and (2) after using the guidance activities package to develop applicative thinking, the applicative thinking level of the experimental group students was significantly higher than the counterpart level of the control group students at the .01 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_156380.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons