Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/521
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสิริกัญญา มณีนิล-
dc.contributor.authorศศิฉาย ธนะมัย-
dc.date.accessioned2022-08-11T08:29:50Z-
dc.date.available2022-08-11T08:29:50Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. ปีที่ 13, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2563), หน้า 15-29th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/521-
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิดตามแนวคิดการเรียนรู้ร่วมกันสำหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ที่มีลีลาการเรียนรู้แตกต่างกัน 2) สร้างบทเรียนออนไลน์ฯ และ 3) ศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิดฯ ประชากร คือ ผู้ลงทะเบียนและทำกิจกรรมในรายวิชาบนเว็บไซต์ www.thaimooc.org จำนวน 306 คน ใช้ระยะเวลาเรียน 6 สัปดาห์ เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) บทเรียนออนไลน์ฯ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิดฯ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิดฯ มี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) ปัจจัยนำเข้า มี 6 ประเด็น คือ การวิเคราะห์รูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียน การวิเคราะห์เนื้อหา การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน การออกแบบ MOOC แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ และการวิเคราะห์เครื่องมือที่ใช้ในการเรียนรู้ (2) กระบวนการมี 3 ขั้นตอนหลัก คือ เตรียมการสอน การสอน และตรวจสอบผลงานและทดสอบ และ (3) ผลลัพธ์ มี 3 ประเด็น คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน และความพึงพอใจในการเรียน ซึ่งรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิดฯ มีคุณภาพในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.57 2) บทเรียนออนไลน์ฯ มีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.63 และมีค่าประสิทธิภาพ 77.00/76.33 และ 3) ผลการใช้รูปแบบฯ พบว่า ผู้เรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย 35.82 โดยผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยจากการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน 41.47 คะแนน ซึ่งผู้เรียนกลุ่มผู้วิเคราะห์ความคิดสร้างสรรค์มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด 42.13 คะแนน และผู้เรียนมีความพึงพอใจในระดับมากมีค่าเฉลี่ย 4.45th_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectมูกส์ (การเรียนการสอนผ่านเว็บ)th_TH
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิดตามแนวคิดการเรียนรู้ร่วมกันสำหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ที่มีลีลาการเรียนรู้แตกต่างกันth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of massive Open Online Course (MOOC) instructional model based on collaborative learning for learners with different learning stylesth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to 1) develop Massive Open Online Course (MOOC) instructional model;2) create a lesson on MOOC;and 3) study the results of using MOOC instructional model. The population comprised306 students registered and conducted educational activities in the Basic Infographic course offered on the ThaiMOOC website (www.thaimooc.org) forsix weeks. The research instruments were 1) lessonson MOOC,2) alearning achievement test, and 3) an evaluation form to assess the satisfactionof learner with MOOC instructional model. Data were analyzed using the percentage, mean, and standard deviation. The research findings showthat 1) MOOC instructional model consists of three main components which are:(a) input factorswhich consist of six issues,namely, learner’slearning-style analysis, content analysis, instructional activity design, MOOC design, learning resources, and learning tool analysis, (b) the process which consists of three main steps, namely, preparing, teaching, and review and testing, and (c) outputs which consist of three issues, namely, learning achievement, participationin learning activities, andsatisfaction;the quality of MOOC instructional model was at the highest level (M= 4.57);2) the quality of MOOC was at the highest level (M= 4.63)with efficiency of 77.00/76.33;and 3) regarding the results of using MOOC instructional model, it is found that (a) on learning achievement, the learners havethe mean score of 35.82;(b) on participationin learning activities, the learners have the mean score of 41.47, with the learners in the creative thinking analysis group having the highest mean score of 42.13; also, the learners are satisfied with MOOC instructional system at the high level, with the satisfaction rating mean of 4.45en_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
43325.pdfเอกสารฉบับเต็ม973.83 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons