Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/526
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศิรัฐ อิ่มแช่ม-
dc.contributor.authorใจทิพย์ ณ สงขลา-
dc.date.accessioned2022-08-11T08:46:46Z-
dc.date.available2022-08-11T08:46:46Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. ปีที่ 13, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2563), หน้า 45-57th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/526-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้แชทบอทที่มีการช่วยเสริมศักยภาพการเรียนรู้ออนไลน์ที่มีต่อการคิดเชิงคำนวณของนักเรียนที่มีบุคลิกภาพที่แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีบุคลิกภาพแบบเปิดเผยและบุคลิกภาพแบบเก็บตัว และกำลังเรียนในรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิชาวิทยาการคำนวณ จำนวน 60 คน ได้มาด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบวัดบุคลิกภาพ 2) บทเรียนผ่านแชทบอท 3) แบบวัดการคิดเชิงคำนวณก่อนและหลังเรียน สถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า 1) นักเรียนที่มีบุคลิกภาพแบบเปิดเผยและบุคลิกภาพแบบเก็บตัว ทั้งสองกลุ่มมีคะแนนเฉลี่ยการคิดเชิงคำนวณหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) การใช้แชทบอทที่มีการช่วยเสริมศักยภาพการเรียนรู้ออนไลน์ที่มีต่อการคิดเชิงคำนวณหลังการทดลองของนักเรียนที่มีบุคลิกภาพแบบเปิดเผยสูงกว่านักเรียนที่มีบุคลิกภาพแบบเก็บตัว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) นักเรียนที่มีบุคลิกภาพแบบเก็บตัวมีค่าเฉลี่ยการใช้งานแชทบอทส่วนการใช้งานเว็บไซต์สูงกว่านักเรียนที่มีบุคลิกภาพแบบเปิดเผย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectการคิดและความคิดth_TH
dc.titleผลของการใช้แชทบอทที่มีการช่วยเสริมศักยภาพการเรียนรู้ออนไลน์ที่มีต่อการคิดเชิงคำนวณของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีบุคลิกภาพที่แตกต่างกันth_TH
dc.title.alternativeEffects of online scaffolding chatbot on computational thinking of Tenth Grade Students with different personalitiesth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study effects of online scaffolding chatbot on computational thinking of students with different personalities. The sample comprised 60 tenth grade students with introvert and extrovert personalities, who registered in the Foundation of Science and Technology Course of the Computational Science Subject, obtained by stratified random sampling. The research instruments were 1) a personality test, 2) an online scaffolding chatbot, and 3) a computational thinking test for pre-testing and post-testing. The data were analyzed using the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The findings were concluded as follows: 1) the post-experiment mean scores of students in both of the extrovert and introvert personality groups were higher than their counterpart pre-experiment mean scores at the .05 level of statistical significance; 2) the post-experiment computational thinking mean score of the students in the extrovert personality group was significantly higher than the post-experiment counterpart mean score of the students in the introvert personality group at the .05 level of statistical significance; and 3) the students in the introvert personality group using chatbot on website had higher mean score than the counterpart mean score of students in the extrovert personality group at the .05 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
43327.pdfเอกสารฉบับเต็ม368.37 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons