Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5277
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเสาวคนธ์ ฉัตรวิไล, 2534-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-02T16:04:16Z-
dc.date.available2023-04-02T16:04:16Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5277-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร (2) ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร และ (4) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร จำนวน 272 คน ได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบ มาตรประมาณค่า มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) การเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงตามลำดับดังนี้ การเรียนรู้และประยุกต์ใช้ความรู้ การมีเงื่อนไขสนับสนุน การสนับสนุนและการเป็นผู้นำร่วมกัน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคล และการมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน (2) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงตามลำดับดังนี้ ภาวะผู้นำทางวิชาการ การจูงใจ วัฒนธรรมองค์การ โครงสร้างและระบบการทำงาน บรรยากาศในการทำงาน (3) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และ (4) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นชุมชน แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา ได้แก่ การจูงใจ บรรยากาศในการทำงานและวัฒนธรรมองค์การth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ--ไทย--มุกดาหารth_TH
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษา--ไทย--ชุมพรth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--ศึกษาศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหารth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the being a professional learning community of schools under Mukdahan Primary Education Service Area Officesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the being a professional learning community of schools under Mukdahan Primary Education Service Area Offices; (2) to study factors related to the being a professional learning community of schools under Mukdahan Primary Education Service Area Offices; (3) to study the relationship between related factors and the being a professional learning community of schools under Mukdahan Primary Education Service Area Offices; and (4) to study the factors affecting the being a professional learning community of schools under Mukdahan Primary Education Service Area Offices. The research sample consisted of 272 administrators and teachers in basic education schools under Mukdahan Primary Education Service Area Offices, obtained by stratified random sampling. The employed research instrument was a rating scale questionnaire with reliability coefficient of .92. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, Pearson's product moment correlation coefficient, and multiple regression analysis. The research results indicated that (1) the overall being a professional learning community of schools under Mukdahan Primary Education Service Area Offices was rated at the highest level; elements of being a professional learning community of schools could be ranked based on their rating means as follows: collective learning and application of knowledge, having supportive conditions, supportive and shared leadership, sharing and exchange of learning among personnel, and having shared vision; (2) the factors as a whole related to the being a professional learning community of schools was rated at the highest level; the related factors could be ranked based on their rating means as follows: academic leadership, persuasion, organizational culture, structure and system of work, and working climate; (3) the related factors correlated positively with the being a professional learning community of schools; and (4) factors affecting the being a professional learning community of schools were the following: persuasion, working climate, and organizational culture.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161931.pdf17.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons