Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5278
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์th_TH
dc.contributor.authorสำเนียง กอเดช, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-02T16:11:15Z-
dc.date.available2023-04-02T16:11:15Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5278en_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของครูต่อการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกรุงเทพมหานคร (2) เปรียบเทียบการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกรุงเทพมหานคร จำแนกตาม เพศ อายุ วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตจตุจักร ในปืการศึกษา 2552 จากการเปิดตารางเคร็จซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan อ้างในผ่องศรี วาณิชย์สุกวงศ์ 2545:103) และได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 180 คน โดย การสุ่มอย่างง่ายตามสัดส่วนของครูแต่ละโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม ชนิดมาตรประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ ค่าความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า (1) การดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่าโดยภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (2) เปรียบเทียบการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกรุงเทพมหานคร จำแนกตามเพศ โดยภาพรวม พบว่าครูชายและครูหญิงมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าครูชายและครูหญิงมีความคิดเห็นในด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล และด้านการคัดกรองนักเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 จำแนกตามอายุมีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และครูที่มีอายุ 20-30 ปีและครูที่มีอายู 31-40 ปีในด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ครูที่มีอายุ 20-30 ปี และครูที่มีอายุ 41 ปีขึ้นไป มีความคิดเห็นในด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหานักเรียน ด้านการส่งต่อแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ครูที่มีอายุ 31-40 ปี และครูที่มีอายุ 41 ปี ขึ้นไป มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกันในทุกด้าน จำแนกตามวุฒิการศึกษา โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกันจำแนกตามประสบการณ์โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectนักเรียน--การดูแลth_TH
dc.titleการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeStudent help-care operation system of basic education schools under Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128736.pdf4.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons