Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5285
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภรัตน์ เทวกุล, ม.ล., 2491-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-02T17:05:21Z-
dc.date.available2023-04-02T17:05:21Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5285-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการจัดการเรียนรู้ระดับอาชีวศึกษาของ 10 ประเทศในประชาคมอาเซียน เนื่องจากนโยบายการเป็นฐานผลิตเดียว หลังจากการรวมเป็นประชาคมอาเซียนเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2558 จึงสมควรมีมาตรฐานการศึกษาเดียวในการศึกษาได้ค้นคว้าจากหลักฐานอ้างอิงข้อมูลของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ การอาชีว ศึกษาทั้งในระดับชาติ ระดับภูมิภาคและระดับโลก ซึ่งได้แก่กระทรวงศึกษาธิการของประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ องค์การพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และสถาบันฝึกอบรมวิชาชีพของเวทีการประชุมรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการของอาเซียน เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการอาชีวศึกษาของชาติให้ได้มาตรฐานสากล อันจะส่งเสริมให้ผลผลิตจากฐานประชาคมอาเซียนเป็นที่ยอมรับในตลาดโลก ทั้งใน ส่วนที่เป็นแรงงานฝีมือ สินค้า และภาคบริการ ผลการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทำให้เกิดภาพความคิดว่า ประเทศไทยมีศักยภาพที่จะจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ด้านอาชีวศึกษามาตรฐานอาเซียน เพราะมีทำเลที่ตั้งเป็นศูนย์กลางของอาเซียน เปรียบเสมือนประตูผ่านเข้าออกในการติดต่อกับโลกภายนอก กอปรกับคนไทยประกอบอาชีพที่หลากหลาย และมีการลงทุนจากต่างประเทศมาก จึงเป็นความสะดวกที่จะจัดหาสถานที่ฝึกงานให้แก่ผู้เรียน ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องให้ไทยเป็นศูนย์แรงงานอาเซียนได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectประชาคมอาเซียนth_TH
dc.subjectอาชีวศึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษาเปรียบเทียบth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบการจัดการเรียนรู้ระดับอาชีวศึกษาของประชาคมอาเซียนth_TH
dc.title.alternativeA comparative study of learning management at the vocational education level in ASEAN Communityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to explore the learning management at the vocational education level in the ASEAN Community’ s member countries. Since the statement of one-base production policy was specified on the day of its full integration on the 31th December 2015, there should be one ASEAN Standard for technical and vocational education and training. ln this study, the researcher searched and examined documents of work agencies concerning with vocational education at the national, regional, and international levels in order to obtain guidelines on how to develop vocational education of the nations to meet the international standards, thus enhancing the products, skilled workers, and services from the ASEAN production base to be well accepted in the world market. These documents and data were provided on websites by the 10 national Ministries of Education, the United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization and the International Center for Technical and Vocational Education and Training (UNESCO-UNEVOC), the Organization for Economic Co-operation and Development (OECD), and the Southeast Asian Ministers of Education Organization Network of Regional Centers for Vocational and Technical Education and Training (SEAMEO VOCTECH). Results of the study and analysis lead to the perceived concept that Thailand has the potential to establish an ASEAN Standard Learning Center, owing to her location as the gateway of ASEAN. Moreover, Thai people are already engaged in various occupations, and there are a lot of foreign investments in Thailand that can facilitate the finding of places for vocational training. These facts can result in mobilizing Thailand to become the center for ASEAN skilled workers.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151757.pdf7.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons