Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5292
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กฤษฎา ประศาสน์วุฒิ | th_TH |
dc.contributor.author | สุกัญญา เนตรน้อย | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-04-03T02:24:42Z | - |
dc.date.available | 2023-04-03T02:24:42Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5292 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (2) ศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับปัญหาการประเมินผลการปฏิบัติงานของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (3) เปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับระบบประเมินผลการปฏิบัติงานและปัญหาการประเมินผลการปฏิบัติงาน ระหว่างบุคลากรสายวิชาการ กับ บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ (4) ศึกษาข้อเสนอแนะในการปรับปรุงระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ กลุ่มตัวอย่าง 311 คนประกอบด้วยบุคลากรของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือสายวิชาการ 145 คน และสายสนับสนุนวิชาการ 166 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสรัางขึ้น สถิติที่ใชัในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ รัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ในภาพรวมระดับปานกลาง (2) กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นเกี่ยวกับปัญหาการประเมินผลการปฏิบัติงานในภาพรวมในระดับปานกลาง (3) ผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็น พบว่าความคิดเห็นของบุคลากรสายวิชาการ และสายสนับสนุนวิชาการเกี่ยวกับรูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ขณะที่ความคิดเห็นด้านวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 (4) ข้อเสนอแนะได้แก่ควรปรับปรุงรูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน และวิธีการประเมินผลให้มีมาตรฐาน รวมทั้งควรกำหนดเกณฑ์การประเมินที่เชื่อถือได้ แบบฟอร์มที่ใช้ควรสั้นรัดกุมและควรมีคณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อพิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.335 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชารัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การทำงาน--การประเมิน | th_TH |
dc.subject | การประเมินผลงาน | th_TH |
dc.title | ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ | th_TH |
dc.title.alternative | Performance appraisal system of King Mongkut's Institute of Technology North Bangkok | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.335 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.335 | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to (1) study the opinion of the university’s personnel on the performance appraisal system of King Mongkut’s Institute of Technology North Bangkok (2) study the opinion of the university’s personnel on the problems of the performance appraisal system of King Mongkut’s Institute of Technology North Bangkok, (3) compare the opinion of the university’s personnel regarding the performance appraisal system between two groups of personnel i.e. the academic staff and the supporting staff, (4) study the suggestions for an improvement of the performance appraisal system of King Mongkut’s Institute of Technology North Bangkok. The sample size of 311 consisted of 145 academic staff and 166 supporting staff of King Mongkut’s Institute of Technology North Bangkok. Instrument used was questionnaire developed by the researcher. Statistical tools applied were percentage, arithmetic mean, standard deviation, and t-test. Research results revealed that (I) the opinion on the performance appraisal system in general was at moderate level. (2) the opinion on the problems of the performance appraisal system in general was also at moderate level (3) hypothesis testing result showed that the opinions of both group on pattern of performance appraisal were different with .01 level of significance, while the opinions on the problem of method used in performance appraisal were different with .05 level of significance (4) suggestions were: there should be an improvement of performance appraisal pattern, more standardized and reliable criterion regarding the appraisal method should be determined, performance appraisal forms should be short and concise, there should be a group of authorized people working as performance appraisal committee. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ปภาวดี มนตรึวัต | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
107634.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 8.93 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License