Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5299
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรพร เสี้ยนสลาย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพรทิพย์ ชมเดช-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-03T03:50:04Z-
dc.date.available2023-04-03T03:50:04Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5299-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนีมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาประเมินระดับความสำเร็จในการนำระบบ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมาใช้ในกรมควบคุมโรค (2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของกรมควบคุมโรค (3) ศึกษาปัญหา อุปสรรคและเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของกรมควบคุมโรค กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ข้าราชการ และพนักงานราชการในสังกัดกรมควบคุมโรค จำนวนทั้งสิ้น 356 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า (1) ความสำเร็จในการนำระบบการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐมาใช้ในกรมควบคุมโรคอยู่ในระดับตํ่ากว่าร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญ (2) ปัจจัยด้านระบบงาน การมีส่วนร่วมของบุคลากร ภาวะผู้นำโครงสร้างองค์กร ค่านิยมร่วมและวัฒนธรรมองค์กร และทักษะ ของบุคลากร มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของกรมควบคุมโรค (3) ปัญหาอุปสรรคในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของกรมควบคุมโรคคือ บุคลากร ยังขาดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ รวมทั้งการถ่ายทอดความรู้ยังไม่ครอบคลุมบุคลากรทุกระดับ สำหรับข้อเสนอแนะที่จะทำให้การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของกรมควบคุนโรค ประสบความสำเร็จยิ่งขึ้นคือ ผู้บริหารระดับสูงควรกำหนดนโยบายและทิศทางในการดำเนินการที่ ชัดเจนและมีการถ่ายทอดให้ทั่วทั้งองค์กร รวมทั้งควรมีการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่บุคลากร คณะทำงานและควรเปิดโอกาสให้บุคลากรุ่นใหม่ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.500-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectส่วนราชการ--การจัดการ.--ไทยth_TH
dc.subjectส่วนราชการ--ไทย--การบริหารth_TH
dc.subjectการบริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ : กรณีศึกษา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing the successful of public sector management quality award : a case study of Department of Disease Control, Ministry of Public Healthth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.500-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to assess the level of implementing success of Public Sector Management Quality Award in Department of Disease Control (2) to study factors influencing the success of the Public Sector Management Quality Award in Department of Disease Control (3) to study the problems, obstacles, and to recommend the appropriate approach to Public Sector Management Quality Award in Department of Disease Control. Samples consisted of 356 officials and bureaucratic officers in Department of Disease Control. Rating scales questionnaire with reliability at .97 was used as instrument. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation, t-test and multiple regression. The research result revealed that (1) the level of success of the implementation of Public Sector Management Quality Award in Department of Disease Control was less than 80 percent with statistical significant. (2) System, Staff participation, Style, Structure, Shared Value and Skill factors influenced the success of Public Sector Management Quality Award in Department of Disease Control (3) problems and obstacles in Public Sector Management Quality Award in Department of Disease Control were lack of skill, knowledge and understanding in the issue of personnel, also, the knowledge transfer did not cover all levels of personnel, as for the recommendation: the executives should set up clear implementation policy and direction and pass them on to all levels of personnel; moreover, all personnel and working committee should be provided with more knowledge and understanding on the issue, and the organization should provide the opportunity for new generation of workers to participate more in organizational managementen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
107635.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons