Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/531
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศริศักดิ์ สุนทรชัยth_TH
dc.contributor.authorสาลิกา วรหาญ, 2501-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T09:39:48Z-
dc.date.available2022-08-11T09:39:48Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/531-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยด้านประชากร ด้านพฤติกรรม และด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อระดับตะกั่วในเลือดของประชาชนบ้านคลิตี้บน กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนบ้านคลิตี้บน จำนวน 225 คน แบ่งเป็นกลุ่มเด็กอายุ 3-15 ปี จำนวน 100 คน กลุ่มผู้ใหญ่อายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 125 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ร่วมกับแบบสังเกตพฤติกรรม ผลการตรวจระดับตะกั่วในเลือด ผลการตรวจสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วยพืช ผัก นํ้าอุปโภค - บริโภค ดิน และอากาศ แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อระดับตะกั่วในเลือดของกลุ่มเด็กบ้านคลิตี้บนประกอบด้วยปัจจัยด้านประชากร คือ อายุ เชื้อชาติ และการศึกษา ด้านพฤติกรรม คือ วิธีการล้างมือและวิธีการรับประทานอาหารที่แตกต่างกันมีผลต่อระดับตะกั่วในเลือดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (PO.05) ในกลุ่มผู้ใหญ่ปัจจัยด้านประชากร คือ เพศ การทำเหมืองแร่ ด้านพฤติกรรม คือ การสูบบุหรี่ และการดื่มแอลกอฮอล์ที่แตกต่างกันมีผลต่อระดับตะกั่วในเลือดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (PO.05 ) เมื่อนำปัจจัยที่แตกต่างกันมาหาความสัมพันธ์กัน พบว่า กลุ่มเด็กที่เรียนหนังสือและไม่เรียนหนังสือซึ่งรับประทานอาหารด้วยมือ มีค่าเฉลี่ยระดับตะกั่วในเลือดสูงกว่ากลุ่มที่รับประทานอาหารด้วยช้อนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) แต่ไม่พบความสัมพันธ์ในกลุ่มผู้ใหญ่ ด้านสิ่งแวดล้อม พบว่า นํ้าอุปโภค - นํ้าบริโภค และอากาศ มีสารตะกั่วไม่เกินค่ามาตรฐาน ส่วนพืช ผัก และดิน พบว่า มีการปนเปื้อนของสารตะกั่วทั้งที่เกินค่ามาตรฐาน และ ไม่เกินค่ามาตรฐานซึ่งอาจเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้ได้รับตะกั่วมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectตะกั่วเป็นพิษth_TH
dc.titleปัจจัยเสี่ยงต่อการสัมผัสสารตะกั่วของประชาชนบ้านคลิตี้บน อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to determine population demographic, behavioral and environment factors affecting blood lead level of the population in North KLITTY village. The studied samples consisted 225 people in North KLITTY village including 100 children group aged 3-15 years old and 125 adults group aged from 15 years old. Data were collected by interviewing questionnaire,and behavioral observation from, blood lead level and results of environmented investigation in terms of plants, vesgitables, drinking and consuming water, soil and air. The data were analyzed as percentage, mean, standard diviation and T-test. The research finding revealed that the risk factors affecting blood lead levels of children in North Klitty comprised demographic factor including age, nationality and education and behavioral factor including different ways of hand washing and food intake which significantly effected blood lead level (P<0.05). Demographic factor among the adult group were sex, mine working while behavioral factor were smoking and alcohol consumption which significantly affected blood lead level ( P<0.05). Correlation of the factor were found that the children who learned and not learned with food intake by hand had more blood lead level than those with food intake by spoon with statistical significance at the level 0.05 but not in the adult group. For environmental factor, lead level in drinking and consuming water as well as air were under the standard whereas plants, vegetables and soil were borth under and over the standard which might be risk factor for more lead exposureen_US
dc.contributor.coadvisorสมทรง อินสว่างth_TH
dc.contributor.coadvisorสมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์th_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
79056.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons