Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5338
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัตนา ดวงแก้ว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorโสมสุดา สวรรคทัต, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-03T14:03:40Z-
dc.date.available2023-04-03T14:03:40Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5338-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมความยุติธรรมทางสังคมในสถานศึกษาระดับประถมศึกษาของรัฐ และ (2) ศึกษาแนวทางการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมความยุติธรรมทางสังคมในสถานศึกษาระดับประถมศึกษาของรัฐ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการศึกษาเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้แทนหน่วยงานที่ไม่หวังผลกำไร จำนวน 8 คน โดยใช้การเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกเอกสาร และแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อค้นหาความหมาย และสรุปเชื่อมโยงสาระสำคัญ และการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ (1) บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมความยุติธรรม ทางสังคมในสถานศึกษาระดับประถมศึกษาของรัฐ ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านนโยบายและ วิสัยทัศน์เพื่อความยุติธรรมทางสังคม ด้านวิชาการและการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาทางวิชาชีพ ด้านการเสริมสร้างวัฒนธรรมโรงเรียนให้เป็นองค์กรแห่งความยุติธรรมทางสังคม และด้านการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ และ(2) แนวทางการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมความยุติธรรมทางสังคม ได้แก่ การพัฒนาคุณลักษณะผู้นำด้านความยุติธรรมทางสังคม การพัฒนาองค์ ความรู้และทักษะพื้นฐานต่างๆ ที่สอดคล้องกับแนวคิดความความยุติธรรมทางสังคม และการพัฒนาวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา ทั้งด้านการสื่อสารวิสัยทัศน์ การเป็นผู้นำการเรียนรู้ การบริหารจัดการองค์กรที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การสร้างภาคีเครือข่าย และการเสริมสร้างวัฒนธรรม เพื่อความยุติธรรมทางสังคมในองค์กรอย่างยั่งยืนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน--ไทยth_TH
dc.subjectโรงเรียนประถมศึกษา--ไทยth_TH
dc.subjectความยุติธรรมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมความยุติธรรมทางสังคมในสถานศึกษาระดับประถมศึกษาของรัฐth_TH
dc.title.alternativeThe roles of school administrators in promoting social justices in government primary schoolsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study the roles of school administrators in promoting social justices in government primary schools; and (2) to study guidelines for development of school administrators in promoting social justices in government primary schools. The qualitative research methodology was employed in this study. For data collection, the researcher conducted in-depth interviews and documentary study. The key research informant group consisted of 8 school administrators, experts, and nonprofit agency representatives, all of whom were purposively selected. The research instruments were a document recording form, and a semi-structured interview form. Data were analyzed by content analysis to gain understanding of the meaning of research topic and derive at conclusions and were validated with the triangulation technique. Research findings revealed that (l)the roles of school administrators in promoting social justices in government primary schools consisted of five aspects, namely, the aspect of policy and vision for social justice, the aspect of academic and learning for social justice, the aspect of professional development for social justice, the aspect of enhancing school culture to become a social justice organization, and the aspect of creating social justice networks; and (2) the guidelines for development of school administrators in promoting social justices were the following: the development of social justice leadership characteristics, the development of holistic knowledge and basic skills relevant to the concept of social justice, and the professional development of school administrators including communicating vision, being learning leaders, managing a student-centered organization, creating social justice networks, and strengthening the culture of sustainable social justice in the organization.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156347.pdf6.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons