Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/533
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐปนรรต พรหมอินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorโสภา วงศ์ใหญ่, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T10:17:11Z-
dc.date.available2022-08-11T10:17:11Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/533-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของ ประชาชน (2) ลักษณะการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน (3) ความสัมหันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผล ต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนกับลักษณะการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน (4) ปัญนา อุปสรรคในการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน (5) แนวทางในการแก้ไขปัญหาและ อุปสรรค ในการเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน ในองค์การบริหารส่วนตำบลแม่กรณ์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา และการเป็นสมาชิกกลุ่ม (2) ลักษณะการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน อยู่ใน ระดับปานกลาง โดยมีส่วนร่วมในด้านการดำเนินการมากที่สุด และลักษณะที่มีส่วนร่วมน้อยที่สุดคือด้าน การตรวจสอบ (3) ปัจจัยอายุ ระดับการศึกษาและการเป็นสมาชิกกลุ่มที่แตกต่างกันส่งผลต่อการมีส่วน ร่วมทางการเมืองแตกต่างกันอข่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (4) ปัญหา อุปสรรคในการเข้ามา มีส่วนร่าม ทางการเมืองของประชาชน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยส่วนใหญ่เห็นว่าปัญหาและอุปสรรค เกิดจากประชาชนมากกว่าเกิดจากหน่วยงานองค์การบริหารส่วนตำบล (5) แนวทางแก้ไขปัญหาและ อุปสรรดในการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน คือประชาชนต้องตระหนักถึงสิทธิของ ตนเอง และเข้าใจขอบเขตของการใช้สิทธิ ว่จะเข้าไปมีส่วนร่วมได้อย่างไร มีวิธีปฏิบัติอย่างไร ส่วน องค์การบริหารส่วนตำบล หรือเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบล ต้องชี้แจงกฎหมาย ระเบียบ การให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วม ให้ประชาชนได้ทราบth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมือง -- ไทย -- เชียงรายth_TH
dc.subjectเชียงราย -- ประชากร -- กิจกรรมทางการเมืองth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองกับลักษณะการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนกรณีศึกษาตำบลแม่กรณ์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeFactor that affect of political participation and types of political participation a case study of the citizens of Meakorn Subdistrict Mueng District, Chaing Rai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
110027.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons