Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5344
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรพิน อิ่มรัตน์, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-03T14:44:31Z-
dc.date.available2023-04-03T14:44:31Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5344-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 (2) ศึกษาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 และ (4) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหาร ในสังกัดสำนัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 จำนวน 322 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .99 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 อยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับได้แก่ปัจจัยบุคคล ปัจจัยทีมงาน และปัจจัยองค์การ (2) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 อยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับ ได้แก่ การบริหารความเสี่ยง การมีความคิดสร้างสรรค์ การมีส่วนร่วม การมีวิสัยทัศน์การเปลี่ยนแปลง และการสร้างบรรยากาศแห่งองค์การนวัตกรรม (3) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมโดยรวมในทางบวก และ (4) ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 เรียงตามตามลำดับ ได้แก่ ปัจจัยองค์การ ปัจจัยทีมงาน และปัจจัยบุคคลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน--ไทย--ชลบุรีth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา.th_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting innovative leadership of administrators in Schools under Chon Buri Primary Education Service Area Office 3en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the factors related to the innovative leadership of the administrators under the Office of Chonburi Primary Educational Service Area 3;( 2) to study the innovative leadership of school administrators under the Office of Chonburi Primary Educational Service Area 3; (3) to study the relationship between factors related to innovative leadership of administrators under the Office of Chonburi Primary Educational Service Area 3; and (4) to study factors affecting innovative leadership of the administrators under the Office of Chonburi Primary Educational Service Area 3. The research sample consisted of 322 teachers in the Chonburi Primary Educational Service Area Office 3, by stratified random sampling. Questionnaire With reliability of . 99. Statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation,. Pearson's product moment correlation coefficient, and multiple regression analysis. The research results indicated that (1) the factors related to the innovative leadership of the administrators under the Office of Chonburi Primary Educational Service Area 3 were rated at the highest level; the specific aspects of factors related to the innovative leadership of the administrators could be ranked based on their rating means as follows: the personal factors; the team factors; the organizational factors (2) innovative leadership of school administrators under the Office of Chonburi Primary Educational Service Area 3 were rated at the high level; the specific aspects of innovative leadership of the administrators could be ranked based on their rating means as follows: the risk management; the creativity, the participation in vision change ;and the creation of an atmosphere of innovation organization ( 3) The relationship between factors related to overall leadership innovation had a positive relationship; and (4) factors affecting innovation leadership of school administrators under the Office of Chonburi Primary Educational Service Area 3 were the following: the organizational factors (X3) ,the team factors (X2) ,and the personal factors (Xi); the regression equation for prediction of innovative leadership was as shown below:en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161173.pdf17.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons