Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5346
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอังคณา บุญเกิด, 2522th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-03T15:03:57Z-
dc.date.available2023-04-03T15:03:57Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5346-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาขวัญในการปฏิบัติงานของครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ และ (2) เปรียบเทียบขวัญในการปฏิบัติงานของครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ จำแนกตาม อายุ ระดับ การศึกษา และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ประชากรที่ใช้ในการวิจัย เป็นครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ประจำปีการศึกษา 2555 จำนวน 110 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ขวัญในการปฏิบัติงานของครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ในภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับค่อนข้างมาก เรียงตามลำดับดังนี้ ขวัญด้านความรู้สึกมั่นคงในหน้าที่การงานมีระดับขวัญมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านความสัมพันธ์เพื่อนร่วมงาน ด้านความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ด้านความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา และด้านสวัสดิการของหน่วยงาน และ (2) ครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อำเภอแม่ แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ที่มีอายุระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานต่างกัน มีขวัญในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก--ไทย--เชียงใหม่th_TH
dc.subjectครู--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectขวัญในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleขวัญในการปฏิบัติงานของครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeMorale in work performance of teachers in preschool children development centers in Mae Chaem District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this independent study were (1) to study the morale in work performance of teachers in preschool children development centers in Mae Chaem District, Chiang Mai Province; and (2) to compare the levels of morale in work performance of teachers in preschool children development centers in Mae Chaem District, Chiang Mai Province, as classified by age, educational level, and work experience. The population of this study comprised child care teachers, and assistant child care teachers in preschool children development centers under local administration organizations in Mae Chaem District, Chiang Mai Province. The employed sample consisted of 110 child care teachers and assistant child care teachers who worked in preschool children development centers under local administration organizations in Mae Chaem District, Chiang Mai Province during the 2012 academic year. The employed data collecting instrument was a rating scale questionnaire. Data were analyzed for percentage, mean, and standard deviation. The findings of the study revealed that (1) the overall and by-aspect levels of morale in work performance of teachers in preschool children development centers in Mae Chaem District, Chiang Mai Province were rather high and could be ranked by aspects as follows: the morale concerning job security was the highest, to be followed by the morale concerning colleague relationship, the morale concerning job satisfaction, the moral concerning relationship with the superiors, and the morale concerning welfare of the work agency; and (2) teachers in preschool children development centers in Mae Cham District, Chiang Mai Province with different ages, educational levels, and work experiences differed significantly in their levels of morale in work performance.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137314.pdf10.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons