Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5361
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรุ่งทิวา วงศ์รักษ์งาน, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-04T03:18:12Z-
dc.date.available2023-04-04T03:18:12Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5361-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไป สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ 2) การใช้สื่อสังคมออนไลน์ 3) ปัญหาการใช้สื่อสังคมออนไลน์ 4) ความต้องการช่องทาง รูปแบบ และกิจกรรมการส่งเสริมสื่อสังคมออนไลน์ด้านการเกษตร และ 5) แนวทางการส่งเสริมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของเกษตรกร ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรในระบบทะเบียนเกษตรกรปี 2561 ตำบลมิตรภาพ อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 449 ราย กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ ทาโร ยามาเนระดับความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 212 ราย สุ่มตัวอย่างแบบง่าย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดอันดับ ผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกรร้อยละ 52.8 เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 57.46 ปี มีประสบการณ์ทำการเกษตรเฉลี่ย 26.97 ปี มีรายได้ รายจ่ายและหนี้สินภาคการเกษตรเฉลี่ยต่อปี 104,434.52 บาท 66,861.79 บาท และ 31,000 บาท ตามลำดับ 2) เกษตรกรใช้สื่อสังคมออนไลน์วันเว้นวัน ช่วงเวลา 10.00 – 14.00 น. ใช้แต่ละครั้งน้อยกว่า 30 นาที โดยโทรศัพท์มือถือ ด้วยช่องทางยูทูป และไลน์ เพื่อหาข้อมูล การสื่อสาร และบันเทิง 3) ปัญหาด้านการใช้สื่อสังคมออนไลน์ คือ ความเสี่ยงของข้อมูล เทคโนโลยี และราคา ด้านการผลิตถึงการจำหน่ายมีปัญหาโดยรวมในระดับน้อย 4) เกษตรกรต้องการช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ คือ ยูทูป ไลน์เว็บไซต์ และเฟสบุ๊คในรูปแบบวิดีโอข้อความภาพ และเสียง กิจกรรมเป็นด้านวิชาการ สื่อสารกับเจ้าหน้าที่ บันเทิง และซื้อขายสินค้า 5) แนวทางการส่งเสริม ได้แก่ การสร้างสื่อด้านการเกษตรเชิงวิชาการ และบันเทิง แต่ละเรื่องน้อยกว่า 30 นาที เผยแพร่ผ่านยูทูป เฟสบุ๊ค เว็บไซต์ ไลน์ เพื่อติดต่อสื่อสารและซื้อขายสินค้าเกษตรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์th_TH
dc.titleการส่งเสริมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้านการเกษตรของเกษตรกร ตำบลมิตรภาพ อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeExtension of the agricultural social media using of farmers in Mittraphap Sub-district, Sikhio District, Nakhon Ratchasima Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) general, social, and economic conditions 2) the usage of social media 3) problems in the usage of social media 4) needs in channels, models, and activities in the extension of agricultural social media and 5) extension guidelines in social media usage of farmers. The population of this study was 449 farmers who registered in farmer registration system in the year 2018 in Mittraphap sub-district, Sikhio district, Nakhon Ratchasima province. The sample size of 212 people was determined by using Taro Yamane formula with the error value of 0.05 and simple random sampling method. Data was analyzed by using frequency distribution, percentage, minimum value, maximum value, standard deviation, and ranking. The results of the research found out that 1) 52.8% of farmers were female with the average age of 57.46 years. They had the average experience in agriculture at 26.97 years and the annual average income, expense, and debt in the agricultural sector of 104,434.52 Baht, 66,861.79 Baht, and 31,000 Baht respectively. 2) Farmers used social media every other day from 10.00 am – 14.00 pm. Each time, they used the social media less than 30 minutes through mobile phones via YouTube channel and Line in order to find information, to communicate, and to entertain. 3) Problems regarding the social media usage included the risks of data, technology, and pricing. In regards to the production to the distribution, the problems overall were at the low level. 4) Farmers wanted social media channels such as YouTube, Line, websites, and Facebook in the form of videos, picture texts, and sound for academic activities, official communication, entertainment, and product purchasing. 5) Extension guidelines were such as the creation of academic and entertained agricultural media for at least 30 minutes by publishing via YouTube, Facebook, website, Line for communication and agricultural product purchasingen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons