Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5366
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจเร ธรรมนิมิต-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-04T03:49:04Z-
dc.date.available2023-04-04T03:49:04Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5366-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อวัดระดับความสำเร็จของการนำนโยบาย แรงงานต่างด้าวไปปฏิบัติ (2) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสำเร็จการนำนโยบาย แรงงานต่างด้าวไปปฏิบัติ (3) เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาการนำนโยบายแรงงานต่างด้าว ไปปฏิบัติ ประชากรในการวิจัยครั้งนี้คือ กลุ่มเจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนที่เกี่ยวข้องในการนำ นโยบายไปปฏิบัติในพื้นที่อำเภอแม่สอด อำเภอพบพระ อำเภอแม่ระมาด อำเภอท่าสองยาง และ อำเภออุ้มผาง โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น 2 กลุ่ม รวมจำนวน 358 คน แยกเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐที่นำ นโยบายไปปฏิบัติ จำนวน 179 คน และประชาชนผู้รับบริการ จำนวน 179 คน เครื่องมึอที่ใช้เป็นแบบ สอบถาม แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานด้วยค่า t-Test และ F-Test ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความสำเร็จของการนำนโยบายแรงงานต่างด้าวไปปฏิบัติ โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาความสำเร็จทั้ง 6 ด้าน คือ ด้านบุคลิกภาพ ของผู้ปฏิบัติ ด้านความรู้ความสามารถของผู้ปฏิบัติ ด้านสถานะ อำนาจ ทรัพยากรของหน่วยงาน ด้านจำนวนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านความสามารถในการต่อรอง ด้านการสนับสนุนจากสื่อมวลชน นักการเมึอง หัวหน้าหน่วยงานอื่นๆ กลุ่มต่างๆ และบุคคลสำคัญ อยู่ในระดับปานกลาง (2) การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับความคิดเห็นต่อความสำเร็จของการนำ นโยบายแรงงานต่างด้าวไปปฏิบัติ พบว่าบุคลากรที่มีอายุและประเภทบุคลากรที่แตกต่างกัน มีความ คิดเห็นต่อความสำเร็จของการนำนโยบายแรงงานต่างด้าวไปปฏิบัติแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 (3) แนวทางการแก้ไขปัญหา จะต้องบูรณาการทุกส่วนใหัพร้อมกัน คือ ด้านจด ทะเบียนและขอใบอนุญาตทำงานของแรงงานต่างด้าว ด้านมาตรการควบคุมใหัรัดกุมและเหมาะสม ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรในหน่วยงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.339-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectแรงงานต่างด้าว--นโยบายของรัฐth_TH
dc.titleการนำนโยบายแรงงานต่างด้าวไปปฏิบัติ : กรณีศึกษาพื้นที่ชายแดนจังหวัดตากth_TH
dc.title.alternativeThe implementation of foreign labor policy : a case study of border area in Tak Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.339-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to temple for level success of policy implementation of Foreign labors; (2) to study personal factors these affect the success of policy implementation of Foreign labors; (3) to Suggest the trend solves problem of policy implementation of Foreign labors. The population were groups of government officers and people who relate in policy implementation of Foreign labors in Mae Sot district, Phop Phra district, Mae Ramat district, Tha Song Yang district and Um Phang district. By divide an example was 2 the group. The total of 358 research sample separated 179 government officers of policy implementation and 179 people whom got the service. The instrument used were questionnaires and interview. The Statistics used for research data analysis were percentage, mean, standard deviation and hypothesis test with the value t-test and F-test The research finding were (1) success level of policy implementation by the overall image was in the medium. When consider 6 both of side successes were personality of executor, knowledge ability of executor, status-power-resource of government official, number of government official that relate, ability negotiation, supporting from media, politician, an other organization, all group and the important person. All of these was in the medium level. (2) hypothesis test about the opinion with success of policy implementation of Foreign labors that the personnel who had the age and the type of personal different. The opinions with success of policy implementation of Foreign labor were statistically different at the .05 level of significance. (3) The trend of solving problem had to integrate every part of in the same time. There were registration and apply for work permit of foreign labor, measure control concisely and properly, administrative manage the resource in government officialen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
107656.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons