Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/539
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพรทิพย์ เชิดชูพงศ์ล้ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวัชริน สินธวานนท์, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T10:47:10Z-
dc.date.available2022-08-11T10:47:10Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/539-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่ม มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ (1) ความสามารถในการปฏิบัติงานเป็นทีม (2) ความพึงพอใจในงานของสมาชิกทีมวิสัญญีพยาบาล และ (3) ความพึงพอใจของวิสัญญีแพทย์ต่อการปฏิบัติงานของทีม ทั้งก่อนและหลังการฝึกอบรมโดยโปรแกรมพัฒนาทีมงาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ สมาชิกทีมวิสัญญีพยาบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จำนวน 40 คน ซึ่งทีมวิสัญญีพยาบาลในหอผ่าตัดต่าง ๆ ได้รับการจัดเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบด้วยการสุ่มอย่างง่ายได้ตัวอย่างกลุ่มละ 20 คน และวิสัญญีแพทย์ 17 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมพัฒนาทีมงานที่สร้างขึ้นตามแนวคิดการพัฒนาทีมงานให้มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสภาพความต้องการของทีมวิสัญญีพยาบาล และได้รับการตรวจสอบคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิ เก็บข้อมูลด้วยแบบทดสอบความสามารถในการปฏิบัติงานเป็นทีม ความพึงพอใจในงาน และความพึงพอใจของวิสัญญีแพทย์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยมีค่าสัมประสิทธิ์ซัลฟ่าเท่ากับ 0.870.92 และ 0.86 ตามลำดับ เก็บรวบรวม ข้อมูลก่อน และหลังการจัดอบรม เปรียบเทียบคะแนนความสามารถและความพึงพอใจด้วยการทดสอบแมนวิทนีย์ยู และวิลคอกซอน ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังได้รับโปรแกรมพัฒนาทีมงาน (1) คะแนนความสามารถในการปฏิบัติงานเป็นทีมของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.001 แต่คะแนนความสามารถก่อนและหลังของกลุ่มทดลองไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (2) คะแนนความพึงพอใจในงานของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 และคะแนนความพึงพอใจในงานภายหลังของกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 และ (3) คะแนน ความพึงพอใจของวิสัญญีแพทย์ต่อการปฏิบัติงานภายหลังสูงกว่าก่อนจัดอบรม อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.001th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกลุ่มทำงานth_TH
dc.subjectวิสัญญีพยาบาลth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleผลของโปรแกรมพัฒนาทีมงานต่อความสามารถในการปฏิบัติงานเป็นทีมและความพึงพอใจในงาน ของทีมวิสัญญีพยาบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.disciplineสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข)th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experimental were to compare: (1) competency for team; (2) job satisfaction of nurse anesthetist team; and (3) satisfaction of anesthesiologists to teams’ performance both before and after training by team development program. Nurse anesthetist teams consisted of 40 members at Chulalongkorn Hospital were simply randomly assigned into the trial and comparative groups (20 members each). Another group of sample was 17 anesthesiologists. Team development program corresponding with team-efficiency concepts and their actual requirements which was verified by experts was applied for the trial group. Team competency, job satisfaction and the satisfaction of anesthesiologists were collected by three developing questionnaires verified with Alpha coefficients of 0.87, 0.92 and 0.86, respectively. All samples were requested for replying the questionnaires before and after the program. Three measured scores were compared by Mann Whitney and Wilcoxon Signed Rank Tests. The results after the team development program were: (1) the competency for team score of the trial group was significantly higher than that of the comparative group (p<0.001) but there was no statistical difference between the before- training and the after-training scores of the trial group; (2) the job satisfaction score of the trial group was significantly higher than that of the comparative group (p<0.05) and the after-training score of the trial group was significantly higher than the before-training score (p<0.05); and (3) the after-training satisfaction score of the anesthesiologists was significantly higher than the before-training satisfaction score (p<0.001)en_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
79865.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons