Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5413
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอานุภาพ กำแหงหาญ, 2532-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-04T15:11:50Z-
dc.date.available2023-04-04T15:11:50Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5413-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสมรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 จังหวัดราชบุรี และ (2) เปรียบเทียบสมรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 จังหวัดราชบุรี จำแนกตามขนาดของสถานศึกษากลุ่มตัวอย่าง คือ ครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 จังหวัดราชบุรี จำนวน 306 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .76 สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ ผลการศึกษาปรากฏว่า (1) สมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 จังหวัดราชบุรี ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากเรียงตามลำดับ ดังนี้ การเป็นผู้นำทางวิชาการ การส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน การบริหารจัดการที่ดี การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ และการระดมทรัพยากรการศึกษา และ (2) สมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 จังหวัดราชบุรี จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ.05 ผลการเปรียบเทียบรายคู่พบว่าผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็กแตกต่างกับผู้บริหารสถานศึกษาขนาดกลางผู้บริหาร สถานศึกษาขนาดใหญ่ และผู้บริหารสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ด้านการเป็นผู้นำทางวิชาการการบริหารจัดการที่ดี การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การระดมทรัพยากรการศึกษา และการส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleสมรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 จังหวัดราชบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe academic administration competency of administrators in Schools under the Secondary Education Service Area Office 8 in Ratchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study the academic administration competency of administrators in schools under the Secondary Education Service Area Office 8 in Ratchaburi province; and (2) to compare the academic administration competencies of administrators in schools under the Secondary Education Service Area Office 8 in Ratchaburi province, as classified by school size. The research sample consisted of 306 teachers in schools under the Secondary Education Service Area Office 8 in Ratchaburi province, obtained by stratified random sampling. The research instrument was a questionnaire with reliability coefficient of .76. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, one way ANOVA, and Scheffe’ s method of pair-wise comparison. The results of the study revealed that (1) both the overall and by-aspect academic administration competencies of administrators in school under the Secondary Education Service Area Office 8 in Ratchaburi province were rated at the high level, and academic administration competencies of administrators could be ranked based on their rating means as follows: academic leadership, promoting student quality, good management, learning process development, and educational resource mobilization, and (2 ) academic administration competencies of administrators of schools of different sizes differed significantly at the .05 level; results of pair-wise comparisons showed that small sized school administrators differed significantly from medium sized school administrators, large sized school administrators, and extra-large sized school administrators in the competency elements of academic leadership, good management, learning process development, educational resource mobilization, and promoting student quality.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161906.pdf17.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons