Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5421
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิษณุ เมืองอินทร์, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-04T16:04:04Z-
dc.date.available2023-04-04T16:04:04Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5421-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้บริการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยนี้ ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ที่กำลังศึกษาในปีการศึกษา 2559 จำนวน 385 คน ได้มาโดยการลุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้บริการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า นักศึกษามีความพึงพอใจในการให้บริการของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาทั้ง 5 ด้าน พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดในแต่ละด้านเรียงตามลำดับดังนี้ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด มี 2 ด้าน ได้แก่ ด้านทรัพยากร คือ มีปริมาณเพียงพอต่อปริมาณนักศึกษาที่เข้ามาใช้บริการสารสนเทศ และด้านการบริการ คือ การบริการยืม – คืนวารสารเป็นที่พึงพอใจของนักศึกษาในระดับมาก เนื่องจากมีระบบยืม - คืนด้วยตนเองและมีความรวดเร็วในการให้บริการ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก มี 3 ด้าน ได้แก่ ด้านสภาพแวดล้อม สภาพแวดล้อมควรแบ่งออกเป็นภายในและภายนอก โดยสภาพแวดล้อมภายใน คือ อุณหภูมิภายในอาคารมีผลต่อการใช้บริการของนักศึกษา ส่วนภายนอกนั้น สถานที่ตั้งของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ กว้างขวาง เข้าออกสะดวก ด้านบุคลากร คือ ความรู้ความสามารถในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่สามารถให้คำแนะนำในการใช้งานด้านต่างๆ ได้ดี และด้านการสื่อสารกับผู้ใช้บริการ คือ การประชาสัมพันธ์ด้วยแผ่นพับ แผ่นป้ายเป็นการให้บริการที่เหมาะสมที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. --ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้บริการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์th_TH
dc.title.alternativeThe satisfaction of students with using the services of the Office of Academic and Information Technology Services of Uttaradit Rajabhat Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the satisfaction of students with using the services of the Office of Academic and Information Services of Uttaradit Rajabhat University. The research sample consisted of 385 undergraduate students of Uttaradit Rajabhat University studying in the 2016 academic year, obtained by simple random sampling. The employed research instrument was a questionnaire on the satisfaction of student with using the services of the Office of Academic and Information Services of Uttaradit Rajabhat University. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that the overall satisfaction of the students with using the services of the Office of Academic and Information Services of Uttaradit Rajabhat University was at the high level. When satisfaction with specific aspects of the services were considered, it was found that there were two aspects with the rating means at the highest level, namely, the resources aspect and the service provision aspect. In the resources aspect, the item receiving the top rating mean was that on the quantity of resource being sufficient for the number of students who came to use the information service. In the service provision aspect, the item receiving the top rating mean was that on the periodical circulation service with which the students were satisfied at the high level because they could borrow and return the journals by themselves and the service provision process being fast. Three aspects received the rating mean at the high level, namely, the environment, the personnel, and the communication with service users. In the environment aspect, the environment comprised the internal and external environment. For the internal environment, the internal temperature within the building affected the students’ use of the services. For the external environment, the location of the Office of Academic and Information Services was spacious, with convenient entrance and exit. In the personnel aspect, the personnel had good knowledge and ability to provide advices and information for the students. Finally, in the aspect of communication with service users, the public relations with the use of brochures and boards were considered to be the most appropriate method.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155970.pdf2.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons